Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนเพื่อลดเวลาปัญหาหารรอคอย (กรณีศึกษาแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี)
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Application of Lean Concepts for Reduce Time by Queuing System (Case Study in Outpatient Department : OPD of Phra Pok Klao Hospital, Chanthaburi Province.)
ชื่อผู้แต่ง
ศศินภา บุญพิทักษ์ และ กรณ์ปภพ รัตนวิจิตร
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2558
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์แนวคิดแบบลีน เพื่อลดเวลาการรอคอยของระบบการบริหารจัดการในแผนก OPD (เวลาปกติ) โดยมุ่งเน้นศึกษาห่วงโซ่อุปทานภายใน OPD (เวลาปกติ) เริ่มจาก คัดแยกผู้ป่วยนอก-ห้องบัตร-พยาบาลคัดกรอง-แพทย์ตรวจ-ห้องยา มี 2 กรณี 1.กรณีมี Inverstigation 2.กรณีไม่มี Inverstigation จากงานวิจัยพบว่า กรณีที่ 2 มีขั้นตอนการดำเนินงานและเวลารอคอยมากกว่ากรณีที่ 1 เนื่องด้วยผู้ป่วยจะต้องดำเนินการติดต่อศูนย์สิทธิประโยชน์ก่อนการรักษา แต่สิ่งที่พบและเป็นประเด็นมากที่สุด คือ เวลาการรอคอยพบแพทย์ตรวจกรณีที่ 1 เวลาเฉลี่ย 70.90 นาที กรณีที่ 2 เวลาเฉลี่ย 80.159 นาที เนื่องจากปัจจัยของโรคผู้ป่วยแต่ละท่านไม่เหมือนกันการรักษาและการวินิจฉัยจะใช้เวลาแตกต่างกันออกไปที่มีความซับซ้อนมากจึงไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงนำประเด็นถัดไปของเวลาการรอคอยมากที่สุดรองลงมาแก้ไขปัญหาและปรับปรุงกระบวนการใหม่ คือ ห้องยา กรณีที่ 1 พบเวลารอคอยเฉลี่ย (Delay) 40.37 นาที คิดเป็น 80.82% กรณีที่ 2 พบเวลารอคอยเฉลี่ย (Delay) 41.021 นาที คิดเป็น 80.384% ดังนั้นความสูญเปล่าที่พบคณะผู้วิจัยได้นำหลักการ 5W 1H มาวิเคราะห์ถึงแนวทางการแก้ไขปัญหา และ นำหลักการ ECRS มาใช้แก้ไขปัญหาในการปรับปรุงกระบวนการไหลการบริการห้องยาใหม่ พบว่าลดขั้นตอนการดำเนินการจาก 15 ขั้นตอน เหลือ 13 ขั้นตอน ลดลงได้ 2 กระบวนการ และยังมีการสลับตำแหน่งเจ้าหน้าที่ เภสัชกร ผู้ช่วยเภสัช ใหม่เพื่อความคล่องตัวและความเหมาะสมในการปฎิบัติงานรวมทั้งการจัดงานใหม่ การรวมกันของงานและการทำง่ายขึ้น หลังจากการปรับปรุง กรณีมี Inverstigation สามารถลดการรอคอยลงได้ 29.45 นาที คิดเป็น 21.227% และกรณีไม่มี Inverstigation สามารถลดการรอคอยลงได้ 30.101 นาที คิดเป็น 20.791%
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research entitled Application of Lean Concepts to Reduce Delay time of Management System in the Outpatient Department (OPD) (operation time), Focused on studying supply chain inside OPD with starting from screened patients - card room - nursing screened - medical – pharmacy, There are two cases: the first’s case with no investigation and the second’s case with investigation. The research found that the second’s case has more delay time operation than the first’s case because the patients must contact the center of treatment benefits, but the most relevant aspect found is delay time to medical in the first’s case showing 70.90 minutes, the second’s case showing 80.159 minutes because of the disease factors, Patients are not the same treatment and of different diagnosis will take away which is very complicated Therefore could not the problem be solved Thus, it brought the minor issues to resolving issues and the improve processes are pharmacy case, the first’s case found average delay time of 80.82 minutes (40.37%) and the second’s case found average delay time of 41.021 minutes (80.384%). 5W 1H theory has been applied to analysis solution to reduce waste of delay time and the principle of ECRS to improve flowing process of new pharmacy. The flowing process found decreased operated from 15 steps to 13 steps and switching positions : Assistant Pharmacist, Pharmacist, Flexible Pharmacy and suitability operation are included After improvements are investigated, the delay time is reduced showing 29.45 minutes (21.227%) and the case with no investigation reduced delay time showing 30.101 minutes. (20.791%).
คำสำคัญ
Keywords
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2022-08-31 10:16:36
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก