Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2568
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
142
คณะครุศาสตร์
28
คณะนิติศาสตร์
37
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
91
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
31
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
69
คณะวิทยาการจัดการ
135
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
108
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
161
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์อะไมเลสและเอนไซม์อะซิติลโคลีนเอสเทอเรสจากสารสกัดเมล็ดข้าวพันธุ์นางพญาทองดำและข้าวพันธุ์ล้นยุ้ง
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
α-amylase and Acetylcholinesterase Inhibitory Activities of Rice Seeds Extracted
ชื่อผู้แต่ง
พิมใจ สุวรรณวงค์ และ วัชรี วรัจฉรียกุล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้ศึกษาฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์อะซิติลโคลีนเอสเทอเรส ฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์แอลฟ่าอะไมเลส และ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบโปรตีน และสารสกัดหยาบตัวทำละลายอินทรีย์จากเมล็ดข้าวพันธุ์ล้นยุ้งและนางพญาทองดำ ผลการวิจัยพบว่าสารสกัดหยาบที่ได้จากเมล็ดข้าวมีฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์อะซิติลโคลีนเอสเทอเรสโดยสารสกัดหยาบโปรตีนจากเมล็ดข้าวสายพันธุ์ล้นยุ้งและนางพญาทองดำมีฤทธิ์ยับยั้งกิจกรรมเอนไซม์อะซิติลโคลีนเอสเทอเรสได้ดีที่สุด ซึ่งมีค่า 〖"IC" 〗_"50" เท่ากับ 0.30 และ 0.33 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ และสารสกัดด้วยตัวทำละลายอินทรีย์จากเมล็ดข้าวพันธุ์นางพญาทองดำมีฤทธิ์ดีกว่าข้าวพันธุ์ล้นยุ้ง ผลการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสพบว่าสารสกัดเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน และเมทานอล จากเมล็ดข้าวสายพันธุ์ล้นยุ้งมีค่า IC50 เท่ากับ 0.467±0.022, 0.227±0.014 และ 0.108±0.0006 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับซึ่งมีฤทธิ์ดีกว่าสารสกัดจากข้าวพันธุ์นางพญาทองดำ นอกจากนี้ยังพบว่าสารสกัดที่ได้จากเมล็ดข้าวทั้งสองสายพันธุ์สามารถยับยั้งอนุมูลอิสระ DPPH• ได้ โดยที่สารสกัดเมทานอลมีฤทธิ์ยับยั้งอนุมูลอิสระดีที่สุด รองลงมาคือ สารสกัดไดคลอโรมีเทน และสารสกัดเฮกเซน ตามลำดับ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research was investigating the -amylase and acetylcholinesterase inhibitory activities of the protein extracted and organic solvent extracted from Lon Yung and Nang phayatongdam rice seeds. Moreover, this research emphasized on comparing the antioxidant activities for the protein extracted and organic solvent extracted as well. The results showed all of the crude extracted inhibited the acetylcholinesterase and the best inhibitor obtained from the crude protein extracted of Nang phayatongdam rice (IC50 = 0.30 mg.ml-1) and Lonyung rice (IC50 = 0.33 mg.ml-1). Besides, the organic solvent extracted of Nang phayatongdam rice showed higher activities than Lon Yung rice extracted. The organic solvent extracted of Lon Yung rice seeds showed the -amylase inhibitory activity was higher than Nang phayatongdam rice. (IC50 of hexane, dichloromethane and methanol extracted of Lon Yung rice seeds are 0.467±0.022, 0.227±0.014 and 0.108±0.0006 mg.ml-1, respectively) Moreover, we found that organic solvent extracts of both rice seed varieties could inhibit DPPH radical and methanolic extracted was the best antioxidant activity followed by dichloromethane and hexane extracted.
คำสำคัญ
อะซิติลโคลีนเอสเทอเรส,แอลฟาอะไมเลส,นางพญาทองดำ,ล้นยุ้ง
Keywords
acetylcolinesterase , -amylase, Nang phayatongdam , Lon Yung
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-03-27 15:36:07
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย