Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาการจัดการ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การศึกษาห่วงโซ่อุปทานประมงอินทรีย์พื้นบ้านในการสร้างมูลค่าผลผลิตเชิงพาณิชย์ และการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันบนพื้นฐานการพึ่งพาตนเองที่ยั่งยืน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Supply Chain to Create a Homegrown Organic Fishery Production Value of Commercial Development and Competitiveness Based on Sustainable Self-reliance.
ชื่อผู้แต่ง
ณรงค์ อนุพันธ์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาการจัดการ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
วัตถุประสงค์ของแผนงานวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพภูมิปัญญาประมงอินทรีย์พื้นบ้านต่อยอดในเชิงพาณิชย์สู่การเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนจากการพึ่งพาตนเองในการการผลิตอาหารทะเลที่มีคุณภาพและปลอดภัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและนำไปสู่การแข่งขันเพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลการศึกษาพบว่า ศักยภาพการทำประมงพื้นบ้านมีทุนทรัพยากรธรรมชาติเหมาะแก่การทำประมงแต่ปัจจุบันทุนธรรมชาติป่าชายเลนอยู่ในสภาวะเสียสมดุลเนื่องจากชาวประมงได้มีการต่อยอดภูมิปัญญาประมงอินทรีย์ท้องถิ่นเชื่อมโยงไปประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวด้านการให้บริการโฮมสเตย์เพิ่มขึ้น การศึกษาห่วงโซ่คุณค่าประมงพื้นบ้านจันทบุรีและตราด เชื่อมโยงการสร้างเครือข่ายตลาดเชิงพาณิชย์เพื่อการแข่งขันบนพื้นฐานการพึ่งพาตนเอง ผลการศึกษาพบว่า สภาวะของการทำประมงพื้นบ้านและตลาดสินค้าประมงในจังหวัดจันทุบรี และจังหวัดตราด ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ระหว่าง 41-50 ปี ระดับการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อปีน้อยกว่า 100,000 บาท ลักษณะการทำประกอบอาชีพการทำประมงใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการจับสัตว์น้ำจากแหล่งทรัพยากรธรรมชาติแล้วนำมาจำหน่ายให้กับธุรกิจเครือข่ายในชุมชนเป็นหลัก การศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการรวมกลุ่มประมงอินทรีย์พื้นบ้านเพื่อยกระดับผลผลิตอินทรีย์สู่การสร้างเครือข่ายการค้าเชิงพาณิชย์ในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จากการสรุปบทเรียน และการทำความเข้าใจกระบวนการค้าเชิงพาณิชย์ในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รวมทั้งลักษณะธรรมชาติเฉพาะของธุรกิจการจำหน่ายสินค้าอาหารทะเล ซึ่งได้มีการสรุปบทเรียนในการพัฒนาการดำเนินงาน ดังนี้ 1) การวางแผน 2) การผลิตและการปฏิบัติการ ได้แก่ การถนอมรักษาสินค้า โรงเรือนการผลิต และระบบขนส่งสินค้า 3) การบัญชีและการเงิน 4) การจัดการอุปสงค์ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ 5) การจัดการอุปทาน และ 6) การเปลี่ยนแปลงจากแนวคิดการทำงานพัฒนาไปสู่การทำธุรกิจ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this research program were to study of the local fishery value chain, Chanthaburi and Trat linking the creation of a commercial market network for competition based on self-reliance. The study indicated that : The state of the local fishery and the fishery product market in Chanthaburi and Trat Province mostly male age between 41-50 years old. Education level is at elementary level. The average income per year is less than 100,000 baht. The nature of making a fishery occupation uses local wisdom. There is a capture of aquatic animals from natural resources and then sold to the network business in the community. This research project aimed to study the potential development of folk organic fishery wisdom in the commercialization to link with tourism by the community from self-reliance on safe quality seafood production to create more value. Leading to competition to prepare for the ASEAN Economic Community. The results of the study showed that: 1) The potential of local fisheries is natural resource capital suitable for fishing, but at present, the mangrove forest capital is in a state of equilibrium because fishermen have extended the local organic fishery wisdom to link to business Tourism in homestay services has increased. The objective of this qualitative research was to investigate the development process and outcomes of the Online Shop at Chanthaburi and Trat Province. They also expected that the business would increase their incomes. The operation during the first year was in the initial stage. Through learning with trial-and error, that staffs increased their understanding about the process of developing a social enterprise, as well as specific characteristics of seafood product business. Lessons for further development of the business are discussed and summarized as follows: 1) planning; 2) manufacturing and operations, including its preservation, production building, and logistics; 3) accounting and finance; 4) demand management, including public relations 5) supply management and 6) the transformation of staffs’ perspectives from development work to business.
คำสำคัญ
ห่วงโซ่อุปทาน, ประมงอินทรีย์, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Keywords
Supply chain, organic fishing, electronic commerce
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-04-12 20:09:39
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย