Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
126
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
35
คณะนิเทศศาสตร์
1
คณะพยาบาลศาสตร์
87
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
28
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
59
คณะวิทยาการจัดการ
116
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
100
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
136
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
24
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การสำรวจพืชสมุนไพรในพื้นที่ปกปักทรัพยากร มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนตามภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
A Survey of Medicinal Plants in the Resources Protection Area of Rambhai Barni Rajabhat University and Sustainable used with Local Wisdom in Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
ศศิธร พุทธรักษ์ , ประถม ทองศรีรักษ์ และ กาญจนา ราชสุวรรณ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การสำรวจพืชสมุนไพรในพื้นที่ปกปักทรัพยากร มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีกับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนตามภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรี ในช่วงเดือนสิงหาคม 2560 ถึงเดือนมีนาคม 2561 ตามเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติในพื้นที่ปกปักทรัพยากรรวมระยะทาง 582.52 เมตร พืชสมุนไพรที่พบสามารถจำแนกออกได้เป็น 28 วงศ์ 41 สกุล 42 ชนิด และไม่สามารถระบุชนิดได้ 2 ตัวอย่าง จากการสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์การใช้พืชสมุนไพรในการรักษาของจังหวัดจันทบุรี พบว่าการเลือกสมุนไพรมาใช้รักษาโรคจะเลือกตามรสของสมุนไพร โดยพืชสมุนไพรส่วนใหญ่มักใช้แก้ไข้ (19%) เนื่องจากมีรสขม รองลงมาช่วยแก้อาการปวดเมื่อย บำรุงกำลัง (13%) เนื่องจากมีรสเมาเบื่อ ส่วนสมุนไพรรสจืดมักใช้ขับปัสสาวะและรสฝาดใช้สมานแผล (4%) การนำสมุนไพรมาใช้รักษาโรคมักใช้วิธีการต้มดื่ม (61%) การประคบและการอบ (14%) และการฝนทา พอก และอาบ (2%) ส่วนประกอบพืชสมุนไพรที่ใช้ในการเตรียมยามากที่สุดคือ ราก (26%) ลำต้น (18%) และส่วนของพืชสมุนไพรที่ใช้น้อยที่สุดคือ ดอก (6%) ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในการเลือกสมุนไพรมาใช้ดูแลตนเอง ปลูกฝังให้คนได้เห็นคุณค่าและภูมิปัญญาท้องถิ่นของพืชสมุนไพร นำไปสู่การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไป
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
A survey of medicinal plants in the resources protection area of Rambhai Barni Rajabhat University and sustainable used with local wisdom in Chanthaburi province were done on August 2017 to March 2018. The herbs were collected on both sides along distance of the nature trail about 582.52 meters. They can be classified into 28 families, 41 genus, 42 species and 2 samples can not be identified. Interviews with experienced herbal plants in the treatment of Chanthaburi province found that the selection of herbs to treat the disease is selected according to the taste of herbs. Most medicinal plants are used to treat fever (19%) due to bitter taste. Secondary to help relieve pain (13%) because the taste is drunk. The herbs are tasteless, often used as a diuretic and astringent to heal wounds (4%). The herbs used to treat the disease are often used to boil and drinking (61%), compression and steaming (14%), for grinding, masking and bathing (2%). The most used medicinal plants were root (26%), stem (18%) and flower (6%). These are useful in choosing herbs for self-care. To cultivate people to know the value and local wisdom of medicinal plants, it leads to conservation and sustainable use.
คำสำคัญ
การสำรวจ, พืชสมุนไพร, การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน, ภูมิปัญญาท้องถิ่น
Keywords
Survey, Medicinal Plants, Sustainable Use, Local Wisdom
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 10:45:22
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย