Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาเครื่องคัดแยกผลไม้ต้นแบบสำหรับชุมชนเกษตรกรรมในจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Development of Fruit Grading Machine Prototype for the Agriculture Communities in Chantaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
ปัญญา วงศ์ต่าย และ คมสัน มุ่ยสี
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
จากการศึกษาปัญหาของเกษตรกรเกี่ยวกับวิธีการคัดแยกผลไม้ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี พบว่าส่วนมากถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง โดยพ่อค้าคนกลางใช้เงื่อนไขการคัดแยกน้ำหนักผลไม้มาเป็นเครื่องต่อรองราคา เกษตรกรไม่มีเครื่องคัดแยกน้ำหนักผลไม้ที่ได้มาตรฐาน แต่ใช้การคัดขนาดด้วยสายตา ทำให้ขนาดผลไม้ไม่สม่ำเสมอ ส่งผลให้พ่อค้าคนกลางไม่รับซื้อ หรือรับซื้อในราคาต่ำ จากเหตุดังกล่าวจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการคิดค้นเครื่องคัดแยกผลไม้โดยวิธีตรวจสอบน้ำหนักสำหรับเกษตรกร เครื่องนี้สามารถคัดแยกผลไม้ได้อย่างแม่นยำและรวดเร็ว ลดการคละปนของผลผลิต ลดปัญหาการตรวจสอบคุณภาพผลไม้ไทยเพื่อการค้าและการส่งออก งานวิจัยนี้พัฒนาระบบคัดแยกผลไม้ และสร้างเครื่องคัดแยกผลไม้ต้นแบบสำหรับชุมชนเกษตรกรรมในจังหวัดจันทบุรี โดยระบบสายพานคัดแยกผลไม้สามารถรองรับน้ำหนักได้ไม่เกินกว่า 3 กิโลกรัมต่อ 1 ผล ความเร็วสูงสุด 20 เมตรต่อชั่วโมง สามารถกำหนดขนาดน้ำหนักของผลไม้ที่ต้องการคัดแยกได้ 0 - 3 กิโลกรัม สามารถใช้งานได้ไม่ต่ำกว่า 12 ชั่วโมงต่อหนึ่งวัน มีความถูกต้องในการคัดแยกผลไม้ 100 % และระยะคืนทุนอยู่ที่ 46 เดือน เครื่องที่พัฒนาขึ้นใช้เวลาในการคัดแยกน้อย และมีราคาต่ำ กลุ่มเป้าหมายทีใช้งานได้แก่เกษตรกร พ่อค้ารับซื้อ ผู้ประกอบการแปรรูปและผู้ส่งออก
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The study of farmers problems about the fruit sorting method in Chanthaburi province area, the results showed that most farmers are always undersell from the middle men. The middle men used the fruit sorting weight condition to bargain. The farmers do not have a standard sorting machine but they sort fruit by eyes. By using eye sorting method, the fruits size are not similar that bring to refuse to buy fruit from the middle men or buy with lower price. From these reasons, it was the beginning of the fruit sorting machine invention by using weight detection method for farmers. This machine could be used to sort fruit precisely and rapidly, reduce the mixing of products, reduce the Thai fruits quality inspection for trading and exporting. The objectives of this research were to develop the fruit sorting system and create the fruit sorting machine prototype for the agricultural communities in Chanthaburi province. The belt conveyor system for sorting fruit could be supporting weight not more than 3 kg/fruit with high speed of 20 m/hr. This machine could be set to sort fruit weight between 0-3 kg, working hour is not lower than 12 hr/day, the accuracy of sorting is 100% and the payback period is 46 months. The developed machine are less time to sort fruit and low price. The target users are farmers, middle men, processing operators and exporters.
คำสำคัญ
ชุมชน, ผลไม้, คัดแยก
Keywords
Community, Fruits, Sort out
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-09-30 16:10:14
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก