ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ { RBRU E-Research }

รายการข้อมูลงานวิจัย

รายการข้อมูลงานวิจัย

การวิจัยเส้นใยจากกาบหมากเพื่อพัฒนาเป็นเคหะสิ่งทอ
A Research of Betel Nut Leaf Stalk for Develop to Home Textiles
นาวี เปลี่ยวจิตร์ , ณภัค แสงจันทร์ และ จุฑาทิพย์ นามวงษ์
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
งานวิจัย
2559
การพัฒนาเส้นใยกาบหมากให้เป็นผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้กับกลุ่มผู้บริโภค โดยผู้วิจัยจะทดลองนาองค์ความรู้ในการแปรรูปเส้นใยพืชและการขึ้นรูปสิ่งทอ มาพัฒนาให้เกิดเป็นนวัตกรรมเส้นใยจากกาบหมากที่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหมากและกลุ่มผู้ประกอบการเคหะสิ่งทอ มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาและทดสอบคุณสมบัติและข้อจากัดของเส้นใยจากกาบหมาก, ทดลองการผลิตต้นแบบเคหะสิ่งทอเส้นใยกาบหมาก, เพื่อหาแนวทางการพัฒนากระบวนการผลิต, เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในพัฒนาเคหะเส้นใยกาบหมากให้กับผู้ประกอบการที่สนใจ ซึ่งมีวิธีการดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงพัฒนาและทดลองการพัฒนาทดลอง (Experimental- Development Reseach) มีประชากรคือ กลุ่มผู้ประกอบการหัตถกรรม ระยอง จันทบุรี ตราด และกลุ่มผู้ผลิตเส้นใยปอในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้ประกอบการ ระยอง จันทบุรี และตราด จานวน 40 คน โดยใช้การสุ่มแบบเจาะจง กลุ่มผู้ผลิตเส้นใยปอในจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 2 กลุ่ม โดยใช้การสุ่มแบบเจาะจง มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ,ความพึงพอใจ และข้อมูลเชิงปริมาณโดยหลักสถิติ ผลการวิจัย พบว่า ในด้านการพัฒนาเป็นสิ่งทอสิ่งทอควรประยุกต์และพัฒนาจากลายเก่าๆ ที่มีความเรียบง่ายแต่ดูหรูหราหรือมีเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่น โดยเฉพาะลายจากสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ซึ่งจะทำให้เกิดจุดเด่นที่แตกต่างจากการทอที่อื่นๆ ในการผลิตควรเน้นความสวยงามและความละเอียดปราณีตจากฝีมือในการทอ เพื่อเป็นการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชิ้นงาน ได้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ มีการประเมินความพึงพอใจ ของกลุ่มตัวอย่าง ต่อต้นแบบที่ผลิต ด้านรูปแบบและการใช้งาน โดยตั้งสมมุติฐานการทดสอบคะแนนเต็ม 5.00 โดยตั้งเกณฑ์ผ่านไว้ที่ 3.50 คะแนน ซึ่งผลสรุปการประเมิน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจภาพรวมอยู่ที่ 3.92 ซึ่งหมายความว่าความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ในระดับที่พึงพอใจ การพัฒนาเส้นใยกาบหมากให้เป็นผลิตภัณฑ์เคหะสิ่งทอเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้กับกลุ่มผู้บริโภค โดยผู้วิจัยจะทดลองนาองค์ความรู้ในการแปรรูปเส้นใยพืชและการขึ้นรูปสิ่งทอ มาพัฒนาให้เกิดเป็นนวัตกรรมเส้นใยจากกาบหมากที่สามารถสร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกหมากและกลุ่มผู้ประกอบการเคหะสิ่งทอ มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาและทดสอบคุณสมบัติและข้อจำกัดของเส้นใยจากกาบหมาก, ทดลองการผลิตต้นแบบเคหะสิ่งทอเส้นใยกาบหมาก, เพื่อหาแนวทางการพัฒนากระบวนการผลิต, เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในพัฒนาเคหะเส้นใยกาบหมากให้กับผู้ประกอบการที่สนใจ ซึ่งมีวิธีการดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงพัฒนาและทดลองการพัฒนาทดลอง (Experimental- Development Reseach) มีประชากรคือ กลุ่มผู้ประกอบการหัตถกรรม ระยอง จันทบุรี ตราด และกลุ่มผู้ผลิตเส้นใยปอในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้ประกอบการ ระยอง จันทบุรี และตราด จานวน 40 คน โดยใช้การสุ่มแบบเจาะจง กลุ่มผู้ผลิตเส้นใยปอในจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 2 กลุ่ม โดยใช้การสุ่มแบบเจาะจง มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ,ความพึงพอใจ และข้อมูลเชิงปริมาณโดยหลักสถิติ ผลการวิจัย พบว่า ในด้านการพัฒนาเป็นสิ่งทอสิ่งทอควรประยุกต์และพัฒนาจากลายเก่าๆ ที่มีความเรียบง่ายแต่ดูหรูหราหรือมีเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่น โดยเฉพาะลายจากสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี ซึ่งจะทำให้เกิดจุดเด่นที่แตกต่างจากการทอที่อื่นๆ ในการผลิตควรเน้นความสวยงามและความละเอียดปราณีตจากฝีมือในการทอ เพื่อเป็นการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มให้แก่ชิ้นงาน ได้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ มีการประเมินความพึงพอใจ ของกลุ่มตัวอย่าง ต่อต้นแบบที่ผลิต ด้านรูปแบบและการใช้งาน โดยตั้งสมมุติฐานการทดสอบคะแนนเต็ม 5.00 โดยตั้งเกณฑ์ผ่านไว้ที่ 3.50 คะแนน ซึ่งผลสรุปการประเมิน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจภาพรวมอยู่ที่ 3.92 ซึ่งหมายความว่าความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ในระดับที่พึงพอใจ
The development of kaolin fiber as a textile product to create a new alternative for consumers. The researcher will try to introduce knowledge in processing of plant fibers and textile forming. Weaving is developed as an innovative fiber from the tamarins that can benefit the prostitutes and textile entrepreneurs. The purpose is To study and test the properties and limitations of fiber from the kaempferia, to test the production of prototype housing, textile fiber, To convey knowledge in the development of housing fiber to the business to the interested. There are research methods, research, development and experimental development. Experimental-Development Reseach is a group of handicraft operators Rayong, Chanthaburi, Trat, and the group of fiber producers in Ubon Ratchathani. The sample is The group of 40 entrepreneurs in Rayong, Chanthaburi and Trat were randomly selected. Two groups of flax fiber producers in Ubon Ratchathani were selected by using random sampling. Content analysis, satisfaction and quantitative data were statistically analyzed. The research found that in the field of textile development, textiles should be applied and developed from old designs that are simple, elegant or unique. Especially the pattern of Her Majesty the Queen. This will give you a distinct advantage over other weaving. Others in the production should emphasize the beauty and sophistication of woven crafts. To create value and add value to the work. Developed as a prototype product. Have a Satisfaction Assessment Of the sample. Per prototype produced Format and usage The hypothesis test scores are 5.00 and the threshold is set at 3.50. The overall satisfaction score was 3.92, which means that the satisfaction of the sample At the level of satisfaction.
เส้นใยกาบหมาก เคหะสิ่งทอ
Betel Nut Leaf Stalk Home Textiles.
ณัฐฐานี ดีซื่อ แก้ไขล่าสุด 2020-10-01 11:13:12

ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด