Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะนิเทศศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
126
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
35
คณะนิเทศศาสตร์
1
คณะพยาบาลศาสตร์
87
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
28
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
59
คณะวิทยาการจัดการ
116
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
100
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
136
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
24
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ประสิทธิผลของการสื่อสารเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี อำเภอท่าใหม่จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Effectiveness of Communication for Agro – Tourism Management in KhaoBai Sri, Tha Mai District, Chanthaburi
ชื่อผู้แต่ง
กาญจนา สมพื้น , พรพิมล สงกระสันต์ และ กรองทอง จุลิรัชนีกร
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะนิเทศศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) รูปแบบการสื่อสารและกลยุทธ์การสื่อสารในการจัดการ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี 2) การรับรู้ข่าวสาร การมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสาร และการมีส่วนร่วมในจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี โดยแบ่งวิธีการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ศึกษารูปแบบการสื่อสารและกลยุทธ์การสื่อสาร ในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และศึกษาจากตำรา เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนที่ 2 ศึกษาการรับรู้ข่าวสาร การรับรู้ประโยชน์ และการมีส่วนร่วมในการจัดการ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จากนักท่องเที่ยว จำนวน 384 คน ผลการวิจัยในส่วนของรูปแบบการสื่อสารและกลยุทธ์การสื่อสารในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี พบว่า รูปแบบการสื่อสารในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี ประกอบด้วย 1) ผู้ส่งสาร ได้แก่ กลุ่มรักษ์เขาบายศรี หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว สื่อมวลชน ประชาชน นักท่องเที่ยว 2) สาร ได้แก่ การสื่อสารให้นักท่องเที่ยวได้รับทราบช่วงฤดูกาลที่เปิดให้ชมสวน การสร้างความมั่นใจในคุณภาพ ของผลไม้ ความหลากหลายของผลไม้ กิจกรรม และบริการต่าง ๆ 3) สื่อ/ช่องทางการสื่อสาร ได้แก่ สื่อมวลชน สื่อบุคคล สื่อเฉพาะกิจ และสื่ออินเทอร์เน็ต 4) ผู้รับสาร ได้แก่ ประชาชนทั่วไปที่นิยมรับประทานผลไม้และชื่นชอบการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กลยุทธ์การสื่อสารในการจัดการ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรีดังนี้ 1) กลยุทธ์ด้านสารเป็นการสื่อสารเพื่อแจ้งข้อมูล ข่าวสารให้นักท่องเที่ยวได้รับทราบ ได้แก่ กลยุทธ์การดึงความสนใจจากวิถีชีวิตจริง กลยุทธ์การดึงความสนใจจากสื่อ กลยุทธ์การสร้างความน่าเชื่อถือ 2) กลยุทธ์ด้านสื่อ กลยุทธ์การใช้สื่อบุคคลที่น่านับถือ กลยุทธ์การใช้สื่อกิจกรรม กลยุทธ์การใช้เครือข่ายการสื่อสาร ผลการวิจัยในส่วนของการรับรู้ข่าวสารและการมีส่วนร่วมในการจัดการการสื่อสาร การท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนเขาบายศรี อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี พบว่านักท่องเที่ยวมีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการสื่อสารการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในระดับปานกลาง และการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการมีส่วนร่วมในการสื่อสารการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ชุมชนเขาบายศรี และความสัมพันธ์ดังกล่าวอยู่ในระดับสูงมาก
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this research were: 1 to study the communication patterns and strategies for agro – tourism management in Khao Bai Sri, Tha Mai District, Chanthaburi 2) to evaluate the perception of news in Khao Bai Sri, Tha Mai District, Chanthaburi and 3) to examine the interpersonal communication. This study mixed method of qualitative and quantitative research. The research instruments were in – depth interview, textbook and the document. The sample group was 384 tourists. Descriptive statistics used were percentage, frequency, mean and standard deviation. The results of this research revealed that the communication patterns for agro – tourism management in Khao Bai Sri were: 1) Sender such as Ruk Khao Bai Sri Grop, officers of agro – tourism, villagers, mass media, and tourist 2) Message such as communication with the tourists during fruit festival, quality of fruits, abundant kinds of tropical fruits, activities and services 3) Media or channel such as mess media, personal media specialized media and Internet and 4) Receiver such as agro - tourism tourists. Additionally, communication strategies for agro – tourism in Khao Bai Sri, Tha Mai District were 1) communication strategies which informed the information to the tourists: strategy for attraction through real life, strategy for attraction through social media and strategy for building credibility 2) mess media strategies Moreover, in the aspects of that the perception of news and interpersonal communication found that the tourists received information about agro -tourism in the medium level and they had the highest satisfaction in relationship.
คำสำคัญ
ประสิทธิผล, การสื่อสาร, การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
Keywords
Effectiveness, Communication, Agro – Tourism Management
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 10:37:21
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย