Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ฤทธิ์ฆ่าลูกน้ำยุงของอนุภาคนาโนซิลเวอร์ที่เตรียมโดยสารสกัดฟ้าทะลายโจร
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Larvicidal activity of silver nanoparticles using Andrographis Paniculata Nees extract
ชื่อผู้แต่ง
สุนิษา สุวรรณเจริญ , ธีรพิชญ์ เกษมสุข และ อาภาพร บุญมี
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ฟ้าทะลายโจรเป็นสมุนไพรที่อยู่ในวงศ์ Acanthaceae เคยถูกรายงานว่ามีฤทธิ์ในการฆ่าลูกน้ายุง งานวิจัยนี้ศึกษาฤทธิ์ฆ่าลูกน้ายุงร้าคาญ และยุงเสือของอนุภาคนาโนซิลเวอร์ที่เตรียมจากสารสกัดฟ้าทะลายโจร พบว่าอนุภาคนาโนซิลเวอร์ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นสารละลายสีเหลืองแกมน้าตาล ลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยม ขนาด 4-40 นาโนเมตร มีค่าการดูดกลืนแสงสูงสุดที่ 420 นาโนเมตร ซึ่งอนุภาคนาโนซิลเวอร์ดังกล่าวถูกวิเคราะห์คุณสมบัติด้วยเทคนิค ยูวี วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตเมทรี กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน อนุภาคนาโนซิลเวอร์ที่ถูกเตรียมจากสารสกัดฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ในการฆ่าลูกน้ายุงร้าคาญ (LC50 และ LC90 เท่ากับ 26.51 4.1056 มิลิกรัมต่อลิตร และ 125.31 12.8766 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล้าดับ) และยุงเสือ (LC50 และ LC90 เท่ากับ 45.36 2.3787 มิลิกรัมต่อลิตร และ 126.63 4.2371 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล้าดับ) ซึ่งมีประสิทธิภาพในการฆ่าลูกน้ายุงได้ดีกว่าการใช้สารสกัดฟ้าทะลายโจรเพียงอย่างเดียว
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Andropraphis paniculata, the herb of Acanthaceae family, was reported larvicidal activity. In this research, silver nanoparticles using Andrographis paniculata were investigated on Culex sp. and Mansonia sp. for larvicidal activity. Silver nanoparticle were found yellow-brown solution, quadrilaterals in shape, their mean size was 4-40 nm and excited at 420 nm. Synthesized silver nanoparticls were characterized by UV-Vis spectrophotometry SEM and TEM analysis. Synthesized silver nanoparticles were more effective anti-larvicidal against Culex sp. (LC50 and LC90 = 26.51 4.1056 ppm and 125.31 12.8766 ppm respectively) and Mansonia sp. (LC50 and LC90 = 45.36 2.3787 ppm and 126.63 4.2371 ppm respectively) than Andropraphis paniculata extract.
คำสำคัญ
ฟ้าทะลายโจร, อนุภาคนาโนซิลเวอร์, ฤทธิ์ฆ่าลูกน้ายุง
Keywords
Andropraphis paniculata, silver nanoparticles, larvicidal activity
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 13:57:30
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก