Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
นวัตกรรมการสร้างสรรค์เครื่องประดับจากเสื่อกกด้วยเทคโนโลยีเครื่องตัดเลเซอร์ เพื่อเพิ่มมูลค่า
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Innovation and creativity of jewelry making from reed mat by using laser cut technology for value addition
ชื่อผู้แต่ง
ภัทรบดี พิมพ์กิ, สุทธาวัลย์ อิ่มอุไร, ภัทรา ศรีสุโข, ศันสนีย์ อาจนาฝาย และสิริวิภา วิมุกตายน
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยเรื่องนวัตกรรมการสร้างสรรค์เครื่องประดับจากเสื่อกกด้วยเทคโนโลยีเครื่องตัดเลเซอร์เพื่อเพิ่มมูลค่า มีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองตัดเสื่อกกด้วยเครื่องตัดเลเซอร์สำหรับเป็นแนวทางในการพัฒนาเครื่องประดับ และผลิตต้นแบบเครื่องประดับจากเสื่อกก โดยทดลองตัดเสื่อกกจันทบูรด้วยเครื่องตัดเลเซอร์ชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 Laser) โดยแบ่งเสื่อกกออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เสื่อกกที่ไม่ผ่านการเคลือบผิว เสื่อกกเคลือบยูวีเรซิ่น เสื่อกกเคลือบกาวลาเท็กซ์ และเสื่อกกเคลือบกาวร้อน โดยรูปร่างที่ใช้ในการทดลองตัดมี 3 แบบ ได้แก่ รูปร่างจากลวดลายทางประวัติศาสตร์ รูปร่างจากธรรมชาติ และรูปร่างเรขาคณิต จากนั้นทำการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของเสื่อที่เหมาะสมในการนำไปต่อยอดสร้างสรรค์เป็นงานเครื่องประดับ ซึ่งพิจารณาจากความคงรูปของรูปร่างหลังการตัด สภาพการยึดเกาะของเส้นกก และความคงไว้ซึ่งความดั้งเดิมของพื้นผิวเสื่อ ผลการวิจัยพบว่า เสื่อกกเคลือบกาวลาเท็กซ์รูปร่างเรขาคณิต มีความคงรูปตรงตามรูปร่างของต้นแบบที่กำหนด เส้นกกเกาะกันได้ดีไม่มีการแยกออกจากกัน มีพื้นผิวที่ยังคงความดั้งเดิมของสภาพผิวเสื่อซึ่งมีความเหมาะสมในนำไปผลิตเป็นงานเครื่องประดับมากที่สุด จากนั้นทำการออกแบบร่างเครื่องประดับจากเสื่อกก 5 ชุด ชุดละ 3 ชิ้นงาน โดยใช้แนวคิดจากทิศทางกระแสแฟชั่นเครื่องประดับ และพฤติกรรมการเลือกซื้อเครื่องประดับของกลุ่มนักท่องเที่ยวจังหวัดจันทบุรี ผ่านการคัดเลือกจากผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบอัญมณีและเครื่องประดับ และผู้เชี่ยวชาญด้านการประกอบธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ จำนวน 1 ชุด และนำไปผลิตเป็นต้นแบบเครื่องประดับ ซึ่งผลการคัดเลือกแบบจากผู้เชี่ยวชาญพบว่าแบบร่างเครื่องประดับชุดที่ 4 มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุดคือ 4.47 ซึ่งเป็นเครื่องประดับสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้หญิงช่วงอายุ 26-35 ปี
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The aim of this research is to experiment with reed mats cutting by using a laser cutting machine for making a guideline for jewelry development and producing the decorations prototype from reed mats. The reed mats were cut with a carbon dioxide laser cutting machine (CO2 Laser). The reed mats samples were divided into 4 types, They are uncoated reed mats, reed mats coated with UV resin, reed mat coated with latex adhesive, and reed mats coated with hot glue. The reed mats samples were cut into 3 shapes such as historical pattern shapes, natural shape, and geometric shapes. The physical analysis of the reed mats samples were carried out to determine their suitability in jewelry creation. The physical optimum of reed mat samples were determined by the shape stability after receive-cutting, the cohesive condition of reed mats lines, and the persistence of the original texture of the reed mats. The research results found that the reed mats samples coated with latex adhesive were cut into the geometric shape are shape stable according to the specified shape of the prototype. The reed mats lines are good cohesive condition and without the separation of the reed mats lines. It has a persistence of the original texture of the reed mats which is most suitable for jewelry production. Then, the jewelry design from the reed mats were designed for 5 collections. The concepts of jewelry designs from the reed mats were considered base on the jewelry fashion trends, and consumer behavior on buying jewelry of tourists in Chanthaburi province. All of the jewelry designs from the reed mats were selected for only 1 collection which produced jewelry prototypes. Based on the final selection of experts, it was found that the collection of the 4th jewelry design had the highest average score of 4.47. They are jewelry for female tourists aged 26-35 years old.
คำสำคัญ
เครื่องประดับ, เสื่อกก, เครื่องตัดเลเซอร์
Keywords
jewelry, reed mat, laser cut technology
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-01-28 11:04:11
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก