Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ผลของสารสกัดหยาบจากอบเชย และน้ำมันหอมระเหยจากอบเชยต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนมะม่วงอกร่อง
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Effect of Cinnamon Extract and Cinnamon Oil to Control Anthracnose Disease of Mango cv. Aok Rong
ชื่อผู้แต่ง
พิกุล นุชนวลรัตน์ และ นภาพร จิตต์ศรัทธา
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ผลของสารสกัดหยาบจากอบเชย น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยต่อการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสบนใบมะม่วงอกร่อง พบว่าทรีตเม้นท์ที่ให้ผลการควบคุมโรคบนใบที่ดีที่สุดคือ น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยทุกระดับความเข้มข้น ได้แก่ 0.50, 1.00 และ 1.50 เปอร์เซ็นต์ โดยพบว่ามีผลการยับยั้งโรคบนใบมะม่วงเท่ากับ 100.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม รองลงมาคือ สารสกัดหยาบจากอบเชยความเข้มข้น 1.50 เปอร์เซ็นต์,สารป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิม 0.05 เปอร์เซ็นต์ สารสกัดหยาบอบเชย ความเข้มข้น 1.00 และ 0.50 เปอร์เซ็นต์ พบว่ามีผลการยับยั้งโรคบนใบเท่ากับ 67.78, 63.25, 46.85 และ 25.52 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ส่วนการศึกษาผลของสารสกัดหยาบจากอบเชย น้ำมันหอมระเหยจากอบเชย และกัมอะราบิกต่อการยับยั้งเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสบนผลมะม่วงอกร่อง พบว่าทรีตเม้นท์ที่ให้ผลควบคุมโรคบนผลที่ดีที่สุดคือ น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยความเข้มข้น 0.50 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับกัมอะราบิกความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ โดยมีผลยับยั้งโรคบนผลมะม่วงเท่ากับ 83.16 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม รองลงมาคือ น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับกัมอะราบิกความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์, สารสกัดหยาบจากอบเชยความเข้มข้น 1.50 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับกัมอะราบิกความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์, สารสกัดหยาบจากอบเชยความเข้มข้น 1.00 เปอร์เซ็นต์ร่วมกับกัมอะราบิกความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์, น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยความเข้มข้น 0.50 เปอร์เซ็นต์, น้ำมันหอมระเหยจากอบเชยความเข้มข้น 0.25 เปอร์เซ็นต์, สารสกัดหยาบจากอบเชยความเข้มข้น 1.50 เปอร์เซ็นต์, สารสกัดหยาบจากอบเชยความเข้มข้น 1.00 เปอร์เซ็นต์ และกัมอะราบิกความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ โดยมีผลยับยั้งโรคบนผลเท่ากับ 60.24, 58.73, 55.14, 45.31, 37.37, 28.92, 17.54 และ 5.69 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการใช้สารสกัดหยาบจากอบเชย และน้ำมันหอมระเหยจากอบเชยร่วมกับกัมอะราบิกมีผลเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคแอนแทรคโนส แต่ก็พบว่าน้ำมันหอมระเหยมีความเป็นพิษต่อผิวมะม่วง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Antifungal effects of cinnamon extract, cinnamon oil were investigated controlling, Colletotrichum gloeosporioides, anthracnose disease on mango leaves. Cinnamon oils at 0.50, 1.00 and 1.50% showed 100% inhibition, followed by cinnamon extract at 1.50%, carbendazim 0.05%, cinnamon extract at 1.00% and cinnamon extract at 0.50% showed 67.78, 63.25, 46.85 and 25.52%, respectively. The combination of cinnamon extract (0.50 and 1.00%), cinnamon oil (0.25 and 0.05%) with gum arabic (10%) was evaluated on mango fruit in a laboratory. The combined use of cinnamon oil 0.50% and gum arabic 10% inhibited anthracnose disease by 83.16%, followed by cinnamon oil 0.25% combined with gum arabic 10%, cinnamon extract 1.50% combined with gum arabic 10%, cinnamon extract 1.0% combined with gum arabic 10%, cinnamon oil 0.50%, cinnamon oil 0.25%, cinnamon extract 1.50%, cinnamon extract 1.00% and gum arabic 10% inhibited anthracnose disease by 60.24, 58.73, 55.14, 45.31, 37.37, 28.92, 17.54 และ 5.69%, respectively. The results suggest that an additive effect was observed when combined cinnamon extract or cinnamon oil with gum arabic, however phytotoxicity was observed when applied cinnamon oil on mango.
คำสำคัญ
โรคแอนแทรคโนสของมะม่วง, Colletotrichum gloeosporioides, สารสกัดหยาบจากอบเชย, น้ำมันหอมระเหยจากอบเชย, กัมอะราบิก
Keywords
anthracnose of mango, Colletotrichum gloeosporioides, cinnamon extract, cinnamon oil, gum arabic
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-10-01 14:41:21
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก