Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
เรื่องเล่าประจำถิ่นจังหวัดจันทบุรี บทบาทการสร้างพื้นที่เพื่อจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Local Narratives of Chanthaburi Province : The Role of Construction for Eco-Cultural Tourism Management
ชื่อผู้แต่ง
สมปอง มูลมณี และ กรฎา สุขุม
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยเรื่อง เรื่องเล่าประจำถิ่นจังหวัดจันทบุรี การสร้างพื้นที่เพื่อจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม จัดทำขึ้นด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมและศึกษาเรื่องเล่าประจำถิ่นจังหวัดจันทบุรี และศึกษากระบวนการจัดการท่องเที่ยงเชิงนิเวศวัฒนธรรมด้วยการใช้เรื่องเล่าประจำถิ่นเป็นพื้นฐาน ผู้วิจัยใช้แนวคิดแนวคิดการศึกษาแบบเรื่องตำนานและเรื่องเล่า การศึกษาพื้นที่นิเวศวัฒนธรรม และคติชนสร้างสรรค์เพื่อการจัดการท่องเที่ยว เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องเล่าที่ปรากฏในพื้นที่ 6 อำเภอที่ปรากฏแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมที่แพร่หลายของจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอแหลมสิงห์ อำเภอคิชฌกูฏ อำเภอท่าใหม่ อำเภอมะขามและอำเภอขลุง ผลการศึกษาพบว่า เรื่องเล่าประจำถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับการสร้างพื้นที่เชิงนิเวศในจังหวัดจันทบุรี มีทั้งสิ้น 41สำนวน โดยจำแนกเป็นประเภทเรื่องเล่าอธิบายการสร้างพื้นที่ทางธรรมชาติ 9 สำนวน เรื่องเล่าอธิบายการกำเนิดบ้าน เมือง และผู้คนศักดิ์สิทธิ์ 20 สำนวน เรื่องเล่าอธิบายความเชื่อ ประเพณีพิธีกรรม 4 สำนวน และเรื่องเล่าเกี่ยวกับพระพุทธรูป วัตถุสิ่งของ 8 สำนวน ซึ่งพบว่าเรื่องเล่าประจำถิ่นที่ใช้สร้างพื้นที่เชิงนิเวศวัฒนธรรมเพื่อการจัดการท่องเที่ยว 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) การสร้างอัตลักษณ์ชาวจันทบุรีด้วยเรื่องเล่าประจำถิ่นเพื่อการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2) เรื่องเล่าพิธีกรรม ความเชื่อ ประเพณีสู่การจัดการท่องเที่ยวและ 3) การสร้างมูลค่าแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติด้วยเรื่องเล่าศักดิ์สิทธิ์
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of the research were 1) to Collect and study local narratives of Chanthaburi Province, and 2) to study the process of managing eco-cultural tourism based on local narratives. The researcher applied the concept of myth and narratives studies, cultural ecology, and creative folklore to analyze the narrative data from 6 districts in Chanthaburi Province (where the most popular eco-cultural attractions appeared): Mueang District, Laem Sing District. Khitchakut District, Tha Mai District, Makham District and Khalung District. The results of the study revealed that local narratives related to the creation of eco site in Chanthaburi Province were in total of 41 versions, which were classified into types of narratives explaining the creation of natural spaces in 9 versions; narratives explaining the city and sacred people in 20 versions; narratives explaining traditions and rituals in 4 versions and narratives explaining Buddha’s images and objects in 8 versions. It was found that the role of local narratives used to create eco-cultural site for tourism management was categorized in 3 aspects: 1) creation of the identity of Chanthaburi people with local narratives for cultural tourism management 2) narratives of rituals, beliefs, and traditions through tourism management and 3) creation of value of natural attractions with sacred stories.
คำสำคัญ
เรื่องเล่าประจำถิ่น, พื้นที่นิเวศวัฒนธรรม, คติชนสร้างสรรค์, การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Keywords
Narratives, Cultural Ecology, Creative Folklore, Eco-Cultural Tourism
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-11-09 14:44:52
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย