Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ระบบแบบจำลองป้องกันกำรโจรกรรมทรัพย์สิน ผ่ำนชำยแดนด้วยเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Modeling System of Properties Robbery Protection by Crossing Border via RFID Technology
ชื่อผู้แต่ง
ปรัชญา ใจสุทธิ , ทวีศักดิ์ สัมมา, ขนิษฐา สิทธิเทียมจันทร์ และ วสุพล เผือกนำผล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ระบบแบบจำลองป้องกันการโจรกรรมทรัพย์สินผ่านชายแดนด้วยเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี ซึ่งประกอบด้วยสามส่วนย่อย ได้แก่ ส่วนที่หนึ่งคือฐานข้อมูลทรัพย์สิน ส่วนที่สองคืออาร์เอฟไอดีและส่วนที่สามคือส่วนของการแจ้งเตือน แบบจำลองนี้ใช้สำหรับตรวจสอบสินค้าที่ออกจากชายแดนว่าเป็นทรัพย์สินที่ถูกโจรกรรมมาหรือไม่ หากถูกโจรกรรมมาระบบจะทำการแจ้งเตือน การทำงานของแบบจำลองอาศัยเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี โดยเริ่มจากส่วนของฐานข้อมูลทรัพย์สิน เมื่อลงทะเบียนทรัพย์สินแล้ว หากทรัพย์สินที่ลงทะเบียนถูกโจรกรรม เจ้าของทรัพย์สินต้องเข้าแจ้งความเพื่อลงทะเบียนทรัพย์สินที่ถูกโจรกรรม เมื่อมีการเคลื่อนย้ายทรัพย์สินผ่านจุดตรวจเครื่องอ่านจะรับสัญญาณและส่งข้อมูลไปยังส่วนของการแจ้งเตือนเพื่อตรวจสอบว่าเป็นทรัพย์สินที่ถูกโจรกรรมมาหรือไม่ ถ้าเป็นทรัพย์สินที่ถูกโจรกรรมมา ระบบจะแจ้งเตือนให้เจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบทรัพย์สินและส่งอีเมล์แจ้งเตือนให้เจ้าของทรัพย์สินทันที ผลการทดสอบแบบจำลองป้องกันการโจรกรรมทรัพย์สินผ่านชายแดนด้วยเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี พบว่าสามารถเข้าถึงทรัพย์สินที่เคลื่อนย้ายข้ามชายแดนได้ดียิ่งขึ้นและทำให้ทรัพย์สินที่จะถูกโจรกรรมมีจำนวนลดน้อยลง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Modeling System of Properties Robbery Protection by Crossing Border via RFID Technology which consists of three parts, which the first part was RFID, the second part was Properties Database and the last part was Alert. When user bought some goods, they would register their goods with RFID tag identification in the system. Whenever their properties were stolen, they had to inform at the police station and then an officer would keep your data and your property data into the server. If the thief with stolen properties walked through the boarder, RFID reader would read tag identification and then checked with informed data in database on server. The system would alert to officers who call and give information to police. After that the police would check and send email notifications to property owner immediately. From result, our system can work properly.
คำสำคัญ
Keywords
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 11:13:57