Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ตามรอยไม้ตะเคียนสู่การอนุรักษ์อย่างยั่งยืนในจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Trace in Hopea spp. to Sustainable Conservation in Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
ศศิธร พุทธรักษ์ , ประสาน แสงไพบูลย์ , ประถม ทองศรีรักษ์ และ เชิงชาย สร้อยเพ็ชร
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ตามรอยไม้ตะเคียนสู่การอนุรักษ์อย่างยั่งยืนในจังหวัดจันทบุรี เป็นงานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของไม้ตะเคียนในจังหวัดจันทบุรี และเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์จากไม้ตะเคียน โดยมีระยะเวลาที่ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลอยู่ในช่วงเดือนตุลาคม 2560 ถึง มีนาคม 2562 ไม้ตะเคียนเป็นไม้ดั้งเดิมที่อยู่คู่จังหวัดจันทบุรีมาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะการใช้ไม้ตะเคียนในการต่อเรือ ซึ่งปรากฏข้อมูลทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2126 รวมถึงการขุดพบซากเรือไม้ตะเคียน ชิ้นส่วนเรือ แอ่งรูปสี่เหลี่ยมที่คาดว่าเป็นอู่ต่อเรือ และอุปกรณ์ขุดเรือ ต่อเรือ ได้แก่ ขวานถาก เลื่อย ขวานถากแบบมีบ้อง เชือกป่าน ชันยาเรือ จมอยู่ในอู่ที่คนทั่วไปเรียก “อู่ต่อเรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” จากการสารวจหลักฐานไม้ตะเคียนที่ปรากฏในปัจจุบันของจังหวัดจันทบุรี พบทั้งสิ้น 10 อาเภอ โดยที่ หมู่บ้านเสม็ดงาม อาเภอเมือง ยังคงเหลือตอตะเคียนในพื้นที่มากที่สุด และทั้ง 10 อาเภอ มีการขุดพบท่อนซุง ซากไม้ตะเคียน เรือที่ทาจากไม้ตะเคียน ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกเก็บรักษาไว้ในวัด เพื่อกราบไหว้บูชา หรือมีการตั้งเป็นศาลเจ้าแม่ตะเคียน ตามหมู่บ้านต่าง ๆ ส่วนอาเภอที่มีการปลูกไม้ตะเคียนจานวนมากเพื่อนามาใช้ประโยชน์ มี 6 อาเภอ คือ อาเภอเมือง อาเภอขลุง อาเภอสอยดาว อาเภอแก่งหางแมว อาเภอนายายอาม และอาเภอเขาคิชฌกูฏ โดยมีภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์จากไม้ตะเคียน คือปลูกเพื่อนาไม้มาใช้ประโยชน์ ต้องการเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับดินในสวนผลไม้ ใช้ต้นตะเคียนแทนไม้ค้าในสวนลาไย และนาชันตะเคียนมาผลิตเป็นน้ามันชันตะเคียนแก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก เป็นต้น ส่วนข้อมูลทางพฤกษศาสตร์พบว่าไม้ตะเคียนที่สารวจทั้งหมดเป็นตะเคียนทอง เจริญเติบโตได้ดีบนที่ราบหรือค่อนข้างราบใกล้ริมน้าในป่าดงดิบแล้งและป่าผลัดใบ หรือในป่าดงดิบแล้งบนเนินทรายใกล้ชายฝั่งทะเล ขึ้นที่ความสูงจากระดับน้าทะเลไม่เกิน 200 เมตร สาหรับแหล่งหรือหน่วยงานที่มีการส่งเสริมสนับสนุนการปลูกไม้ตะเคียน ได้แก่ ศูนย์เพาะชากล้าไม้ ตาบลทับไทร อาเภอโป่งน้าร้อน อุทยานแห่งชาติน้าตกพลิ้ว ตาบลพลิ้ว อาเภอแหลมสิงห์ สมาคมคืนรากแก้วสู่ดิน และพื้นที่ปกปักทรัพยากร โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Trace in Hopea spp. to sustainable conservation in Chanthaburi province. It is a research that aims to study the collection of historical data of Hopea spp. in Chanthaburi province and to study and collect the cultural data and local wisdom in the area of Chanthaburi province. The period of study and data collection is between October 2017 and March 2019. The Hopea species are the original wood that has been found in Chanthaburi province since the past, especially the use of Hopea spp., in shipbuilding. There has been a discovery of the historical evidence about Hopea spp. since the year 1583., including the excavation of the remains of a wooden Hopea spp. boat, a square basin that is expected to be a shipyard and ship building equipment such as axe, saw, hemp rope and damar sunk in the docks, that local people call “King Taksin the Great Shipyard”. From the survey of evidence of Hopea spp. in Chanthaburi province, it appeared that the remains of wooden ships, including excavated logs, wooden carcass, and the wooden boats found in all 10 districts and the most remains of ships were discovered in the Samed Ngam village, Muang district. Most of them are preserved in temples or set up as a Takian goddess shrine in villages where people go to pay homage.. The large forest areas of Hopea spp. planting have now been recorded in 6 districts, namely Muang district, Khlung district, Soi Dao district, Kaeng Hang Maeo district Na Yai Am district dnd Khao Khitchakut district. Considering to the wisdom and utilization of Hopea spp. wood, it is planted for use of wood, improving the soil moisture in the orchard, using the Hopea spp. tree as the crushes in the longan garden and using dammar of Hopea spp. to produce as Takhian oil used to treat inflammation and others. The botanical data showed that all of the Hopea spp. are Hopea odorata (iron wood). They thrive on flat plains or quite flat near the waterfront in dry evergreen forests and deciduous forests or in the dry evergreen forest on the sand dunes near the coast. Hopea odorata grows at an altitude of no more than 200 meters above sea level. The organizations that promote and support tree planning of Hopea odorata are Chanthaburi Plant House Center at Thap Sai subdistrict in Pong Nam Ron district, Namtok Phliu National Park at Phliu subdistrict in Laem Singh district, Return the Taproot to the Earth Association and the Resources Protection Area, Plant Genetic Conservation Project under the Royal initiation of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, Rambhai Barni Rajabhat University.
คำสำคัญ
ตะเคียน , จังหวัดจันทบุรี , การอนุรักษ์อย่างยั่งยืน
Keywords
Hopea spp., Chantaburi Province, Sustainable Conservation
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 10:40:31
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก