Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2568
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
142
คณะครุศาสตร์
28
คณะนิติศาสตร์
37
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
91
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
31
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
69
คณะวิทยาการจัดการ
135
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
108
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
161
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การเสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะด้วยสารสกัดพญาสัตบรรณในการยับยั้งการเจริญ ของเชื้อแบคทีเรียก่อโรค
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Synergistic antimicrobial activity of Alstonia scholaris (L.) R. Br. extract and antibiotic against the growth of pathogenic bacteria
ชื่อผู้แต่ง
ปรัชญา เฉลียวฉลาด และ เดือนเต็ม ทองเผือก
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
พญาสัตบรรณ เป็นพืชที่สามารถพบได้ในทุกภาคของประเทศไทย และมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แต่ยังมีผู้ศึกษาน้อย การวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียบางชนิดของสารสกัดเอทานอล 95% และเอทิลอะซิเตทจากพญาสัตบรรณในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย 5 ชนิด ได้แก่ Escherichia coli ATCC 25922, Bacillus subtilis TISTR 1248, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Staphylococcus aureus ATCC 25923 และ Klebsiella pneumoniae TISTR 1867 ด้วยวิธี Paper disc diffusion และ Broth dilution ผลการทดลองพบว่าสารสกัดเอทานอลของใบพญาสัตบรรณที่ความเข้มข้น 500 และ 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่สามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อด้วยวิธี Paper disc diffusion และเมื่อตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารสกัดและยาปฏิชีวนะ Gentamicin ในการออกฤทธิ์เสริมกัน (Synergic effect) พบว่าสารสกัดเอทานอลและเอทิลอะซิเตท ออกฤทธิ์เสริมกันกับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ได้ดีที่สุดในการต้านการเจริญของ S. aureus ATCC 25923 รองลงมาคือ B. subtilis TISTR 1248 ในขณะที่สารสกัดทั้งสองชนิดไม่มีประสิทธิภาพในการเสริมฤทธิ์กับยาปฏิชีวนะ Gentamicin ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli ATCC 25922, P. aeruginosa ATCC 27853 และ K. pneumoniae TISTR 1867และเมื่อทดสอบความสามารถ ในการต้านการเจริญของเชื้อทดสอบด้วยวิธี MIC และ MBC พบว่าสารสกัดเอทานอลที่ความเข้มข้น 1,000 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ B. subtilis TISTR 1248 ได้ดีที่สุด โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 15.62 และ 31.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ รองลงมา คือ S. aureus ATCC 25923 และ K. pneumoniae TISTR 1867 ซึ่งมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 31.25 และ 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Alstonia scholaris (L.) R. Br. Is a plant that can be found in all parts of Thailand and had pharmacological activity, but there are only few educators. This study aimed to investigate the inhibitory effects of 95% ethanolic and ethyl acetate extracts from Alstonia scholaris (L.) R. Br extracts against the growth of five bacterial species including Escherichia coli ATCC 25922, Bacillus subtilis TISTR 1248, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Klebsiella pneumoniae TISTR 1867 and Staphylococcus aureus ATCC 25923 by paper disc diffusion and broth dilution assays. The result showed that 95% ethanolic leafs extracts at concentration of 500 and 1,000 mg/ml did not inhibit the growth of all tested bacteria. After that, synergistic effect of extract and gentamicin was investigated. The result revealed that 95% ethanol and ethyl acetate extracts showed the synergistic with gentamicin, which could be able to inhibit the growth of S. aureus ATCC 25923, followed by B. subtilis TISTR 1248, E. coli ATCC 25922, P.aeruginosa ATCC 27853 and K. pneumoniae TISTR 1867, while both extracts did not had synergistic antibacterial activity with Gentamicin against the growth of E. coli ATCC 25922, P. aeruginosa ATCC 27853 and K. pneumoniae TISTR 1867. The ethanolic extract was further investigated their minimal inhibitory concentration (MIC) and minimal bactericidal concentration (MBC) with broth dilution method. The result revealed that the 95% ethanol extract at concentration of 1,000 mg/ml could inhibit the growth of B. subtilis TISTR 1248 with MIC and MBC values of 15.62 and 31.25 mg/ml, respectively, followed by S. aureus ATCC 25923 and K. pneumoniae TISTR 1867 with showed MIC and MBC values of 31.25 and 62.50 mg/ml, respectively.
คำสำคัญ
พญาสัตบรรณ, การเสริมฤทธิ์, สารสกัดจากพืช, ยาปฏิชีวนะ
Keywords
Alstonia scholaris, synergistic effect, plant extract, antibiotic
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-09-30 15:57:13
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก