Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การศึกษารูปแบบแหล่งอาศัยที่ต้องการของหิ่งห้อย (Insecta: Coleoptera: Lampyridae) ในป่าชายเลนลุ่มน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี เพื่อการอนุรักษ์
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Study on Habitat Preference of Firefly (Insecta: Coleoptera: Lampyridae) in Welu Wetland Mangrove Forest, Chanthaburi Province for Conservation
ชื่อผู้แต่ง
สรศักดิ์ นาคเอี่ยม และ ณมนรัก คำฉัตร
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษารูปแบบแหล่งอาศัยที่ต้องการของหิ่งห้อย ในป่าชายเลนลุ่มน้ำเวฬุ จังหวัดจันทบุรี เพื่อการอนุรักษ์ เริ่มสำรวจตั้งแต่กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 ในพื้นที่ป่าชายเลนของสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 2 (ท่าสอน จันทบุรี) โดยสำรวจทั้งหมด 10 ครั้ง พบหิ่งห้อยตัวเต็มวัย 1 ชนิด คือ Pteroptyx malaccae สามารถพบหิ่งห้อยได้ทุกครั้งที่สำรวจ แต่มีความแตกต่างกันของประชากรในแต่ละสถานีศึกษา และในแต่ละเดือนที่ศึกษา ผลการศึกษาพบชนิดพืชที่หิ่งห้อยเกาะอาศัยทั้งหมด 5 ชนิด คือ ต้นโกงกางใบเล็ก (Rhizophora apiculata Blume) ต้นแสม (Avicennia alba Blum) ต้นเสม็ดขาว (Melaleuca cajuputi Powell) ต้นกระถินเทพา (Acacia mangium) และต้นพุทรา (Ximenia Americana L.) และลักษณะของพืชเกาะอาศัยของหิ่งห้อยมีลักษณะแตกต่างจากพืชที่หิ่งห้อยไม่เกาะอาศัย โดยหิ่งห้อยเกาะอาศัยต้นไม้ที่ลำต้นมีความสูงมากกว่า 5 เมตรขึ้นไป มีรัศมีทรงพุ่มกว้างเฉลี่ยประมาณ 3 เมตร มีใบขนาดเล็ก โดยมีแผ่นใบแคบกว่า 4 เซนติเมตร ความยาวแผ่นใบน้อยกว่า 10 เซนติเมตร มีแผ่นใบบางน้อยกว่า 360 ไมโครเมตร และมีพื้นที่แผ่นใบเฉลี่ยน้อยกว่า 3,500 ตารางมิลลิเมตร เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธีทางสถิติพบว่าพืชเกาะอาศัยของหิ่งห้อยมีลักษณะแตกต่างจากพืชที่หิ่งห้อยไม่เกาะอาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ที่ระดับนัยสำคัญเท่ากับ 0.05
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Study on habitat preference of firefly in Welu wetland mangrove forest, Chanthaburi province for conservation was conducted in Mangrove Forest Resources Development Station 2 (Thasorn, Chanthaburi) between February 2019 and January 2020. The 10 surveys were started after sunset. Only one species of Pteroptyx malaccae was recorded. The adult populations of those species were found in all surveying periods with no significantly difference of population abundance in difference study stations as well as study months. Five species of host plants were recorded such as Rhizophora apiculata Blume, Avicennia alba Blum, Melaleuca cajuputi Powell, Acacia mangium and Ximenia Americana L. The morphology of those host plants showed the differences from the other non-host plants. The host plants were more than 5 meters height, the canopy radius were 3 meters in average, with smaller leaves (less than 4 centimeters of width, less than 10 centimeters of length, less than 360 micrometers of thickness and the average leave areas were less than 3,500 square millimeters). The result showed the significant difference of the characteristics of the host plants and the non-host plants (P < 0.05) at the 0.05 level.
คำสำคัญ
หิ่งห้อย, ความชุกชุม, ปัจจัยทางกายภาพ, พืชอาศัย, ป่าชายเลนลุ่มน้ำเวฬุ
Keywords
Firefly, Abundance, Physical factors, Host plant, Welu wetland mangrove forest
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2022-03-29 15:53:55
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก