Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การเพาะเลี้ยงเห็ดกินได้ที่พบในสวนยาง ตำบลแสนตุ้ง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Edible Mushroom Cultivation from Rubber Plantation, Saentoong, Khao Saming, Trat Province
ชื่อผู้แต่ง
เสาวภา สุราวุธ และ ชุตาภา คุณสุข
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2564
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยในครั้งนี้คือเพื่อระบุชนิดเห็ดกินได้ที่พบในพื้นที่สวนยางพารา ตำบลแสนตุ้ง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ด้วยวิธีทางสัณฐานวิทยาและอณูชีววิทยา และเพื่อศึกษาการเพาะเลี้ยงเส้นใยเห็ดกินได้ในระดับห้องปฏิบัติการและในระดับโรงเรือน ในการสำรวจพบเห็ดราขนาดใหญ่ จำนวน 12 ตัวอย่าง ในจำนวนนี้เป็นเห็ดที่มีรายงานว่ากินได้ จำนวน 5 ชนิด (รหัสตัวอย่าง) คือ Auricularia cornea (NU10), Schizophyllum commune (SC3), Termitomyces cylindricus (PK1), Tremella fuciformis (NU21) และ Trichaleuria javanica (PL8) จึงได้ทำการคัดเลือกเห็ด จำนวน 1 ชนิด คือ S. commune (SC3) หรือเห็ดแครง โดยมีสายพันธุ์ทางการค้าเป็นสายพันธุ์เปรียบเทียบ จากการศึกษาพบว่าเห็ดแครงสายพันธุ์สวนยาง มีการเจริญของเส้นใยบนอาหาร PDA การเจริญบนเมล็ดข้าวฟ่าง และผลผลิตของดอกเห็ดได้น้อยกว่าสายพันธุ์ทางการค้า อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ได้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้เมื่อทำการเปรียบเทียบผลผลิตจากสูตรทำก้อนเชื้อ จำนวน 3 สูตร พบว่าทั้งเห็ดแครงสายพันธุ์สวนยางและสายพันธุ์ทางการค้าให้ผลผลิตมากที่สุดเมื่อเพาะในก้อนเชื้อสูตรที่ 1 ซึ่งเป็นสูตรที่มีส่วนผสมคือ ขี้เลื่อย 15 กิโลกรัม รำละเอียด 7.5 กิโลกรัม ภูไมท์ 300 กรัม และดีเกลือ 30 กรัม ส่วนสูตรที่ 2 และ 3 ให้ผลผลิตลดลงตามลำดับ ดังนั้น ในงานวิจัยนี้สามารถแยกเชื้อเห็ดแครงสายพันธุ์จากสวนยางได้และยังเป็นสายพันธุ์ที่สามารถพัฒนาเพื่อทำการเพาะเลี้ยงให้เกิดดอกในระดับโรงเรือน
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this study were to identify edible mushrooms found in rubber plantations, Saentoong, Khao Saming, Trat province by morphological and molecular techniques and to investigate mushroom cultivation in the laboratory and in-house. Twelve mushroom samples were collected from the rubber plantation, five of these samples were edible mushrooms consisting of Auricularia cornea (NU10), Schizophyllum commune (SC3), Termitomyces cylindricus (PK1), Tremella fuciformis (NU21), and Trichaleuria javanica (PL8). This study selected S. commune (SC3) as rubber plantation strain and commercial strain of S. commune was used to compare. The result found that S. commune rubber plantation strain revealed lower mycelia growth on PDA, on millet seed, and yield product than commercial strain, however, the data did not statistically significant difference. Additionally, the three formulas of cultivated material revealed that both S. commune rubber plantation strain and commercial strain gave the highest yield product in cultivated material formula 1 contains 15kg, 7.5kg, 300g, and 30g of sawdust, rice bran, pumice, and magnesium sulfate, respectively. Therefore, this study could cultivate S. commune rubber plantation strain and this strain could develop to be cultivated for mushroom production in-house.
คำสำคัญ
เห็ดกินได้, เห็ดแครง, การเพาะเห็ด, สวนยางพารา
Keywords
edible mushroom, Schizophyllum commune, mushroom cultivation, rubber plantation
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2022-05-12 11:00:16
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย