Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ผลของการใช้สารโพแทสเซียมคลอเรตร่วมกับพาโคลบิวทราโซลโมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต และเมพิควอทคลอไรด์ ต่อการออกดอกของลำไยในฤดูฝน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Effect of Potassium Chlorate combining with Paclobutrazol, Monopotassium Phosphate and Mepiquat Chloride on Flowering of Longan (Dimocarpus longan) in Rainy Season
ชื่อผู้แต่ง
เลิศชัย จิตร์อารี , วิกันยา ประทุมยศ และ พิมใจ สุวรรณวงค์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้สารโพแทสเซียมคลอเรตร่วมกับพาโคลบิวทราโซล, โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต และเมพิควอทคลอไรด์ ต่อการออกดอกของลำไยในฤดูฝนโดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) กำหนดให้มี 4 treatments (T) 4 Replications (R) ประกอบด้วยพ่นน้ำเปล่า (T1), พ่นสารพาโคลบิวทราโซล(T2), พ่นสารโมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต (T3), พ่นสารเมพิควอทคลอไรด์ (T4) ทำการทดลองที่สวนลำไย อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี บันทึกข้อมูลเปอร์เซ็นต์การออกดอก ชนิดช่อดอก ความกว้างและความยาวช่อดอก เปอร์เซ็นต์การติดผล จำนวนผลต่อช่อ และคุณภาพผลผลิตของต้นลำไยเมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผลการทดลองพบว่า สารเมพิควอทคลอไรด์ มีแนวโน้มส่งเสริมเปอร์เซ็นต์การออกดอกและช่อดอกล้วน รวมทั้งลดปริมาณเปอร์เซ็นต์การแตกใบอ่อนและช่อดอกปนใบ ในขณะที่โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต ส่งผลให้ต้นลำไยมีเปอร์เซ็นต์การออกดอกลดลง และทำให้ต้นลำไยมีการแตกใบอ่อนเพิ่มขึ้น การให้สารโพแทสเซียมคลอเรตร่วมกับพาโคลบิวทราโซล โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต และเมพิควอทคลอไรด์ในฤดูฝน มีผลต่อขนาดช่อดอกของลำไยในสัปดาห์ที่ 1 แต่เมื่อผ่านไปจนครบ 4 สัปดาห์ ขนาดของช่อดอกลำไยในทุกสิ่งทดลองไม่มีความแตกต่างกัน สารพาโคลบิวทราโซลส่งเสริมให้ลำไยติดผลมากขึ้น ในขณะที่ความสูงของผล เส้นผ่าศูนย์กลางของผล ความยาวเส้นรอบผล ความหนาเปลือก ความหนาเนื้อ ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด น้ำหนักสดของเปลือกและเนื้อ น้ำหนักแห้งของเปลือก เนื้อ และเมล็ด ระหว่างสิ่งทดลองต่าง ๆ ไม่มีความแตกต่างกัน
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The effect of potassium chlorate combined with paclobutrazol, monopotassium phosphate and mepiquat chloride on flowering of longan (Dimocarpus longan) in rainy season was investigated. Four treatments were potassium chlorate (control), potassium chlorate paclobutrazol, potassium chlorate monopotassium phosphate and potassium chlorate mepiquat chloride. The potassium chlorate was sprayed on 16 longan trees and the other chemicals were sprayed seven days after spraying with potassium chlorate. The flowering percentage, new leaf flushing percentage, full flower percentage, leafy percentage were recorded 1 week after spraying. The data of fruit setting percentage and fruit number per brunch were collected when fruit size was 1 cm. The fruit quality was analyzed when the fruit was mature. The results showed that mepiquat chloride trended to increase flowering and full flower percentages and also reduce new leaf flushing and leafy flower percentages. In contrast, monopotassium phosphate trended to decrease increase flowering percentage and increase new leaf flushing percentage. The application of potassium chlorate with paclobutrazol, monopotassium phosphate and mepiquat chloride effected to the panicle size at 1 week after spraying. However, there was no significant difference in panicle size among treatments at 4 weeks after spraying. Paclobutrazol trended to increase the fruit setting percentage. The fruit height, fruit diameter, Fruit circumference, peel thickness, pulp thickness, total soluble solids, peel fresh weight, pulp fresh weight, peel dry weight, pulp dry weight and seed dry weight among treatments did not differ.
คำสำคัญ
ลำไย, โพแทสเซียมคลอเรต, เมพิควอทคลอไรด์, พาโคลบิวทราโซล, โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต
Keywords
longan, potassium chlorate, mepiquat chloride, paclobutrazol, monopotassium phosphate
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-04-27 10:16:02
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก