Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาผลิตภัณฑ์แยมหนามแดง
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Development of Karanda Fruit (Carissa carandasLinn.) Jam Product
ชื่อผู้แต่ง
กุลพร พุทธมี และ ศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ในการทำวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณเพคตินที่เหมาะสมในการผลิตแยมหนามแดง โดยศึกษาคุณภาพทางกายภาพ เคมี และการยอมรับทางประสาทสัมผัสของผู้ทดสอบชิมต่อผลิตภัณฑ์ โดยการศึกษาปริมาณเพคติน 3 ระดับ คือ 0.5% 1.0% และ 1.5% พบว่า เมื่อปริมาณเพคตินเพิ่มขึ้นไม่มีผลต่อค่า L* และ b* แต่มีผลทำให้ค่า a* เพิ่มขึ้น และค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ลดลง ค่า aw ของผลิตภัณฑ์แยมหนามแดง พบว่าอยู่ในช่วง 0.82 -0.84 และมีปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด เท่ากับ 76 ºBrix พบปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมดเท่ากับ 6.6×103 CFU/g โดยสูตรที่ได้รับการยอมรับจากผู้ทดสอบสูงที่สุดคือ แยมที่มีปริมาณเพคตินที่ระดับ 0.5% โดยมีความชอบด้านรสชาติ ความสามารถในการทาขนมปัง และความชอบโดยรวมจากผู้บริโภคมากที่สุด โดยมีคะแนนเท่ากับ 7.65 7.48 และ7.62 คะแนน ตามลำดับ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objective of this research was to study the optimum pectin in Karanda jam product. The level of pectin were 0.5% 1% and 1.5%. Physical, chemical and sensory qualities of jams were evaluated. The results showed that when the level of pectin increased dose not effect on color L* and b* but color a* increased and pH decreased, the water activity (aw) of jam was 0.82 – 0.84 and TSS was 76 ºBrix, total microorganism was found 6.6×103 CFU/g. The highest acceptable jam formula was that used the level of pectin at 0.5%. The average score of sensory evaluation in taste, spread ability and total acceptance were 7.65 7.48 and 7.62 respectively.
คำสำคัญ
Keywords
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-01-28 12:47:32
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก