Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การประเมินความต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงอกร่อง ในจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Evaluation of Fungicide Carbendazim Resistance in Colletotrichum gloeosporioides Causing Anthracnose Disease of Mango cv. Aokrong in Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
พิกุล นุชนวลรัตน์ และ นภาพร จิตต์ศรัทธา
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การแยกเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงพันธุ์อกร่องจากจังหวัดจันทบุรี ด้วยวิธีการ tissue transplanting สามารถแยกเชื้อราสาเหตุโรคได้ทั้งหมด 27 ไอโซเลต เมื่อทำการประเมินความต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิม โดยเลี้ยงเชื้อราทุกไอโซเลตบนอาหาร potato dextrose agar (PDA) ที่ผสมสารคาร์เบนดาซิม ที่ระดับความเข้มข้น 0.1, 1, 10, 100, 500 (อัตราแนะนำ) และ 1,000 ppm ผลการประเมินระดับความต้านทานของเชื้อราต่อสารป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิม พบว่ามีจำนวน 14 ไอโซเลต (51.85%) ที่มีความต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมระดับสูง (highly resistance; HR) และมีจำนวน 13 ไอโซเลต (48.15%) ที่อ่อนแอต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิม (sensitive; S) ไม่พบไอโซเลตที่มีระดับความต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมระดับปานกลาง (moderate resistance; MR) และระดับความต้านทานต่ำ (weakly resistance; WR) ผลการนำสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราจำนวน 9 ชนิด ในอัตราแนะนำข้างฉลาก มาทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ที่ต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมระดับสูง บนอาหาร PDA ด้วยวิธี poisoned food technique ผลการทดลองพบว่า สารปองกันกําจัดเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อราที่มีความต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมระดับสูงที่ดีที่สุด คือ แมนโคเซบ (mancozep 80%WP) 60 กรัม/20 ลิตร, แคปแทน (captan 50%WP) 50 กรัม/20 ลิตร, โพรคลอราช (prochloraz 45%EW) 30 มิลลิลิตร/20 ลิตร, ไดฟีโคนาโซล อะซ็อกซี่สโตรบิน (difeconazole azoxytrobin 20% 12.5%SC) 10 มิลลิลิตร/20 ลิตร และไดฟีโคนาโซล โพรพิโคนาโซล (difeconazole propiconazole 15% 15
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Isolation of Colletotrichum gloeosporioides, the causal agent of ‘Aokrong’ mango anthracnose disease by using tissue transplanting technique from infected fruits from orchards in Chanthaburi province, twenty-seven isolates of fungi were obtained. The carbendazim resistance assays were conducted by growing all isolates on potato dextrose agar (PDA) contained the carbendazim at various concentrations 0.1, 1, 10, 100, 500 (recommended concentration), and 1,000 ppm, respectively. The resistance to carbendazim was evaluated and classified into four representative reaction phenotypes. The results showed that fourteen isolates (51.85%) were classified as HR (highly resistance) phenotype and thirteen isolates (48.15%) were S (sensitive) phenotype. None of the isolates were classified as MR (moderate resistance) or WR (weakly resistance) phenotype. The effectiveness of nine fungicides as recommended concentrations to inhibit mycelial growth of Colletotrichum gloeosporioides, HR phenotype, using poisoned food technique, revealed that the mycelia growth of all fungicides treated fungi were reduced, as compared to untreated control. Mancozeb 80%WP 60 g/20 l, captan 50%WP 50 g/20 l, prochloraz 45%EW 30 ml/20 l, difenoconazole azoxystrobin 20% 12.5 SC 10 ml/20 l, and difeconazole propiconazole 15% 15
คำสำคัญ
โรคแอนแทรคโนส, มะม่วง, คาร์เบนดาซิม, ต้านทาน, สารป้องกันกำจัดเชื้อรา
Keywords
anthracnose, mango, carbendazim, resistance, fungicide
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-05-21 13:53:14
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก