Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ระบบควบคุมการอบแห้งเห็ดหลินจืออัจฉริยะด้วยการเรียนรู้ของ โครงข่ายประสาทเทียม
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Controlled Lingzhi Drying System with Learning of Artificial Neural Networks
ชื่อผู้แต่ง
พรพิมล ฉายแสง และ ประพัน ลี้กุล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้นำเสนอระบบควบคุมการอบแห้งด้วยลมร้อนแบบฉลาดด้วยการประยุกต์ใช้โครงข่ายประสาทเทียมในการตัดสินใจ เพื่อควบคุมระดับอุณหภูมิในการอบแห้งเห็ดหลินจือแบบอัตโนมัติ ระบบประกอบด้วย ส่วนตรวจวัดอุณหภูมิส่วนประมวลผลและส่วนควบคุมมอเตอร์ อุณหภูมิในตู้อบลมร้อนถูกตรวจวัดด้วยเทอร์โมคลัปเปิล Type K และถูกแปลงเป็นสัญญาณดิจิทัลด้วยวงจร MAX6675 พร้อมเทียบกับเวลาจริงที่ใช้ในการอบแห้งด้วยโมดูล DS1302 ข้อมูลเวลาและอุณหภูมิได้รับการแสดงผลบนหน้าจอ OLED และข้อมูลยังได้รับการวิเคราะห์จากโครงข่ายประสาทเทียมที่ใช้อินพุต 2 โนด โนดซ่อนเร้น 4 โนด และให้เอาต์พุตที่เป็นตัวแทนของอุณหภูมิในแต่ละช่วงเวลา 3 โนด ใช้อัตราการเรียนรู้ 0.1 ให้ค่าความผิดพลาด 0.488 และให้ความแม่นยำ 100% ข้อมูลการตัดสินใจถูกส่งไปยังส่วนควบคุมมอเตอร์ด้วยการสื่อสารผ่านบลูทูธ ส่วนควบคุมทำหน้าที่รับข้อมูลและเปลี่ยนเป็นสัญญาณควบคุม จากนั้นส่งต่อไปยังบอร์ดขับเพื่อควบคุมมอเตอร์สเต็ปเปอร์ให้หมุนวาล์วแก๊สในช่วง-40 ถึง 20 องศา เพื่อปรับระดับอุณหภูมิให้อยู่ในช่วง 50 60 และ 70 องศาเซลเซียส ที่เวลาน้อยกว่า 3 9 และ 18 ชั่วโมง ตามลำดับ ระบบได้รับการทดสอบทั้งหมด 3 ครั้ง แต่ละครั้งใช้ความถี่ในการตรวจวัดและควบคุม คือ ทุกๆ 2 5 และ 10 นาที ตลอดเวลาการอบแห้งที่ 18 ชั่วโมง ความถี่ในการตรวจวัดที่เหมาะสม คือ 5 นาที เนื่องจากประหยัดพลังงานและควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงที่ต้องการได้อย่างเหมาะสม มีความคลาดเคลื่อนเพียง ±2.9 องศาเซลเซียส แสดงให้เห็นว่าระบบควบคุมการอบแห้งเห็ดหลินจือด้วยลมร้อนอัตโนมัติทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research presents a smart automatic hot air control for Ganoderma lucidum drying system by applying artificial neural networks in decision process in order to control temperature automatically. The system consists of a temperature measurement processing part, and a motor control part. In temperature measurement, a thermocouples type K was used. The measured data was converted to digital data by MAX6675 module and compared with the real-time consumed in drying process that was monitored by DS1302 module. The time and temperature data were displayed on the OLED screen and also were analyzed by an artificial neural network consisting of 2 input nodes, 4 hidden nodes, and 3 output nodes representing temperature at different times with learning rate of 0.1, error of 0.4, and accuracy of 100%. The results from the artificial neural network were transmitted to motor control part by Bluetooth. The received data was converted to a control signal and then forwarded to the driver board to control the stepper motor to rotate the gas valve in the range of -40 to 20 degrees for temperature adjusting in the range of 50, 60 and 70 degrees Celsius at drying time less than 3, 9 and 18 hours respectively. The experiments were done 3 times by measuring temperature and adjusting gas valve every 2, 5 and 10 minutes respectively for 18 hours dying time. The result showed that the optimum time was 5 minutes since the temperature control was in the optimum range with ± 2.9 degrees Celsius deviation and the energy usage was save. Thus, this proposed system efficiently performs in automatic control hot air for Ganoderma lucidum drying system.
คำสำคัญ
เห็ดหลินจือ, การอบแห้งด้วยลมร้อน, การควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ, โครงข่าย ประสาทเทียม
Keywords
Ganoderma lucidum, hot air drying, temperature automatic control, artificial neural network
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-09-08 10:26:02
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก