Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์แบบแพลอยน้ำ สำหรับเกษตรกรฐานรากในระดับครัวเรือน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Floating Solar Water Pumping System for Foundation Farmers at the Household Level
ชื่อผู้แต่ง
ศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล, กฤษณะ จันทสิทธิ์ และ ปัญญา วงศ์ต่าย
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2566
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและพัฒนาระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์แบบแพลอยน้ำ สำหรับเกษตรกรฐานรากในระดับครัวเรือน และวิเคราะห์ประสิทธิภาพปริมาณน้ำที่ได้ในแต่ละช่วงเวลาตามขนาดท่อทางดูดที่แตกต่างกัน ระบบประกอบด้วยเครื่องสูบน้ำมอเตอร์กระแสตรงพร้อมกล่องควบคุมขนาด 550 วัตต์ ทำงานร่วมกับแผงโซล่าเซลล์ขนาด 400 วัตต์ จำนวน 2 แผง ติดตั้งบนโครงสร้างแพลอยน้ำขนาดความกว้าง 1,520 มิลลิเมตร ยาว 1,520 มิลลิเมตร และสูง 200 มิลลิเมตร บนภาชนะลอยน้ำขนาดใบละ 60 ลิตร จำนวน 4 ใบ ตู้ควบคุมภายในติดตั้งอุปกรณ์เซอร์กิตเบรกเกอร์ไฟฟ้ากระแสตรง อุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกทางไฟฟ้า (Surge Protector) และมอนิเตอร์แสดงค่าแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า ปริมาณน้ำจะไหลผ่านมาตรวัดอัตราการไหลที่ผ่านขนาดท่อทางดูดที่แตกต่างกัน 3 ขนาด (1 1.5 และ 2 นิ้ว) ในช่วงระยะเวลา 08.00 น. ถึง 17.00 น. โดยเฉลี่ย 6 ครั้งใน 1 ชั่วโมง จำนวน 3 ครั้ง ผลการทดสอบพบว่า ช่วงเวลาการทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดทั้ง 3 ขนาด คือ ช่วงเวลา 13.00 น. มีค่าปริมาณน้ำสูงสุดเท่ากับ 2,259.16 4,021.89 และ 5,116.21 ลิตรต่อชั่วโมง ตามลำดับ โดยขนาดท่อทางดูดที่เหมาะสมต่อการใช้งาน คือ ขนาด 2 นิ้ว ได้ปริมาณน้ำสูงสุดต่อวัน 38,008.30 หรือ 38.08 คิวต่อวัน อัตราการไหลสูงสุดที่ระดับ 84.34 ลิตรต่อนาที
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purpose of this research was to study and to develop a floating solar pumping system for farmers at the household level. The efficiency of water flow through different sizes of suction pipes was analyzed. The system consisted of a DC motor pump with a 550-watt control box, working with two of 400-watt solar panels. These panels were installed on a floating raft structure measuring 1,520 mm in width, 1,520 mm in length, and 200 mm height. The structure was set up on four containers, each with a capacity of 60 liters. The internal control cabinet was equipped with a DC circuit breaker, surge protector, and a monitor displaying the voltage, electric power, and water flow through the meter. The analysis was conducted using three different suction pipe sizes (1 inch, 1.5 inches, and 2 inches) between 8:00 a.m. and 5:00 p.m. Data collection was performed six times per hour with three replications. It was found that the most effective working time for all three suction pipe sizes was 1:00 p.m. The highest water volumes from the suction pipe size of 1 inch, 1.5 inches, and 2 inches were 2,259.16 liters per hour, 4,021.89 liters per hour, and 5,116.21 liters per hour, respectively. The suitable suction pipe size was determined to be 2 inches, as it exhibited the maximum water volume per day of 38,008.30 or 38.08 cubic meters per day, with a maximum flow rate of 84.34 liters per minute.
คำสำคัญ
ระบบสูบน้ำ, พลังงานแสงอาทิตย์, แพลอยน้ำ และครัวเรือน.
Keywords
Pumping System, Solar Energy, Floating Rafts and Household
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2024-09-09 13:52:43
ดาวน์โหลดไฟล์เอกสารบทความวิชาการ
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
-
อ้างอิงเอกสารวิชาการ
ศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล, กฤษณะ จันทสิทธิ์ และ ปัญญา วงศ์ต่าย. (123).
ระบบสูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์แบบแพลอยน้ำ สำหรับเกษตรกรฐานรากในระดับครัวเรือน
,
123
, ฉบับที่ 123, หน้าที่ 123
หน่วยงานรับผิดชอบ
123
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก