ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ { RBRU E-Research }

รายการข้อมูลงานวิจัย

รายการข้อมูลงานวิจัย

การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพและวิวัฒนาการของระบบดาวคู่แบบแตะกันบางระบบ
Analysis of Physical Properties and Evolution of Some Contact Binary-Star System
ชีวะ ทัศนา , โชติ เนืองนันท์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
งานวิจัย
2560
งานวิจัยเป็นการสังเกตการณ์ดาวคู่ดีเอฟ ไฮดรา โดยการถ่ายภาพด้วยซีซีดี โฟโตมิเตอร์ ในช่วงความยาวคลื่นสีน้ำเงินและสีเหลืองต่อเข้ากับกล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสงดริชชี-เครเทียน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.50 เมตร ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา นครราชสีมา เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการณ์มาทำการรีดักชันภาพเพื่อกำจัดสัญญาณรบกวนแล้วข้อมูลที่ได้นำไปวิเคราะห์หาค่าเวลาที่แสงน้อยที่สุด พบว่า ค่าเวลาที่แสงน้อยที่สุดขณะเกิดอุปราคาปฐมภูมิ หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์หาค่าสมการ Ephemeris ใหม่ โดยการอ้างสมการเดิมของ Zhang et al คือ และนำค่า Epoch และ HJDMinI ใหม่ของงานวิจัยนี้ไปรวมกับข้อมูลเดิมของนักวิจัยที่ได้ทำไว้ในอดีต พบว่า มีสมการ Ephemeris ใหม่ เป็น จากนั้นนำข้อมูล Epoch และ HJD (Min) ไปหาสมการ O-C ได้เป็น ซึ่งทำให้ทราบว่าวงโคจรใหม่ของระบบดาวคู่ดีเอฟ ไฮดรามีคาบวงโคจรประมาณ 0.3306 วันต่อรอบ มีอัตราการเปลี่ยนคาบวงโคจรเพิ่มขึ้นเป็น 1.38×10-7 วันต่อปี
In this research, an orbital Period change of binary system DF Hydrae was observed by CCD Photometer via a 0.5-meter Rithchey-Chertien Reflecting Telescope at Regional Observatory for the Public Nakhon Ratchasima. Images of binary star were obtained by using B and V photometric filters. The data was input through reduction processes via Iris. The time of minimum primary eclipse. The analyze Zhang et al ephemeris is from . The result has shown that the new ephemeris is from . this research is obtained . The O-C light curve has shown that the orbital period of DF Hydrae is 0.3306 day per cycle and 1.38 ×10-7 day per year
ณัฐฐานี ดีซื่อ แก้ไขล่าสุด 2020-01-30 09:55:10