ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ { RBRU E-Research }

รายการข้อมูลงานวิจัย

รายการข้อมูลงานวิจัย

การประยุกต์ใช้วิธีการจําแนกเชิงวัตถุสําหรับทําแผนที่ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนมีส่วนร่วม กรณีศึกษากรณีศึกษาพื้นที่ ต.ไม้รูด และ ต.หาดเล็ก อ.คลองใหญ่ จังหวัดตราด
Application of object-oriented classification methods for mapping natural resources and environmental Community participation. A case in MaiRut and Hatlek district Trat Province
อาจารย์วิระ ศรีมาลา,อาจารย์วีระศักดิ์ ปรึกษา,อาจารย์ทบทอง ชั้นเจริญ
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานวิจัย
2556
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประยุกต์ใช้วิธีการจําแนกเชิงวัตถุในการจัดทําแผนที่ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนมีส่วนร่วมและพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ด้าน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่เป็นประโยชน์ในการอนุรักษ์ฐานทรัพยากร โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยวิธีการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย การสร้างข้อมูลวัตถุภาพจากข้อมูลภาพถ่าย และ การจําแนกข้อมูลวัตถุภาพเป็นพื้นที่ โดยใช้ข้อมูลต้นแบบที่มาจากการสํารวจภาคสนามและจะให้ ชุมชนมีส่วนร่วมในการสํารวจข้อมูล สําหรับผลที่ได้จากการจําแนกเชิงวัตถุและผลการวิเคราะห์และ จัดทําข้อมูลแผนที่จากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและ UAV พบว่า ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม สามารถใช้ ในการทําแผนที่ทรัพยากรได้ 5 ประเภท และสามาทําแผนที่ป่าไม้ในพื้นที่ขนาดใหญ่ได้ดี โดยให้ความ ถูกต้องที่ 94 % และ ระดับความน่าเชื่อถือแบบ Kappa Index เท่า กับ 0.93 ส่วนข้อมูลจาก ภาพถ่ายจาก UAV สามารถทําแผนที่ในพื้นที่ขนาดใหญ่และสามารถแยกประเภทข้อมูลระดับละเอียด ได้ดี จากผลการศึกษา สามารถแยกข้อมูลอาคารและสิ่งปลูกสร้าง ออกจากพื้นที่ ป่าชายเลน และ พื้นที่อื่นได้ โดยให้ความถูกต้องที่ 94
The objective of this research was to application of object-oriented classification methods for mapping environmental resources by community participation and develop a GIS database Resource and environmental benefits of conservation the resource base The research methods is divided into two parts: The first one was create object image data from images and The second one was classified information element areas using the data from a survey sample areas and to the community to participate in the survey data. For the results of classification and object-oriented analysis and data maps from satellite images and UAV images. Found that satellite images can be used to mapping the 5 categories of resources and mapping forest areas can be large as well. The accuracy level of 94% and a Kappa Index is equal to 0.93. UAV images can be used to mapping the 3 categories and extract from buildings and structures. Out of the mangrove areas and other areas. The accuracy of 94%, 96 and the level of reliability in the form of the Kappa Index 0.95.
การจําแนกเชิงวัตถุ
Object-oriented classification
เจียมจิต บวชไธสง แก้ไขล่าสุด 2020-02-28 11:29:49