Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดเมล็ดลำไยและการประยุกต์ใช้ในน้ำยาล้างจาน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Antibacterial Activity of Dimocarpus longan Lour. Seed Extract and Application in Dishwashing Liquids
ชื่อผู้แต่ง
ปรัชญา เฉลียวฉลาด และ จิรภัทร จันทมาลี
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดเมล็ดลำไยที่ใช้เอทานอล 95 เปอร์เซ็นต์เป็นตัวทำละลายในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย 5 ชนิด ได้แก่ Escherichia coli ATCC 25922, Bacillus subtilis TISTR 1248, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Staphylococcus aureus ATCC 25923 และ Klebsiella pneumoniae TISTR 1867 ด้วยวิธี paper disc diffusion และ broth dilution ผลการทดลองพบว่า สารสกัดเมล็ดลำไยสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ P. aeruginosa ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ E. coli, S. aureus และ B. subtilis ตามลำดับ ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางวงใสของการยับยั้งระหว่าง 20.33 – 30.67 มิลลิเมตร ทั้งนี้สารสกัดเมล็ดลำไยไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ K. pneumoniae ได้ เมื่อนำสารสกัดเมล็ดลำไยมาหาค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ (Minimal inhibitory concentration, MIC) และค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อได้ (Minimum bactericidal concentration, MBC) ด้วยวิธี broth dilution พบว่า สารสกัดเมล็ดลำไยมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของ B. subtilis ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ P. aeruginosa, S. aureus และ E. coli ATCC โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 3.91 - 31.25 และ 15.63 - 62.50 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ นอกจากนี้เมื่อนำน้ำยาล้างจานที่มีส่วนผสมของสารสกัดเมล็ดลำไยมาศึกษาประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียด้วยวิธี paper disc diffusion พบว่า สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียทดสอบได้ ดังนั้นผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจานที่มีส่วนผสมของสารสกัดเมล็ดลำไยจึงเหมาะสมในการนำมาใช้ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งถือว่าเป็นการสนับสนุนการใช้สารจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ และนำไปสู่การเพิ่มพูนรายได้ในการผลิตผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to study the efficiency of longan seed extract, using 95% ethanol as solvent, against the growth of five bacterial species including Escherichia coli ATCC 25922, Bacillus subtilis TISTR 1248, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Staphylococcus aureus ATCC 25923 and Klebsiella pneumoniae TISTR 1867 using paper disc diffusion and broth dilution methods. The result revealed that longan seed extract presented the highest efficacy against the growth of P. aeruginosa, followed by E. coli, S. aureus and B. subtilis, respectively with the dimension of the clear reegion of inhibition ranging from 20.33 – 30.67 mm. Whereas the longan seed extract could not inhibit the growth of K. pneumoniae. Furthermore, the longan seed extract was evaluated its minimum inhibitory concentration (MIC) and minimum bactericidal concentration (MBC) by broth dilution, and the results showed that longan seed extract exhibited the strongest efficacy against the growth of B. subtilis, followed by P. aeruginosa, S. aureus and E. coli with MIC and MBC values of 7.83 - 31.25 and 15.63 - 62.50 mg/ml, respectively. Additionally, dishwashing liquid containing longan seed extract was evaluated for its inhibition zone by paper disc diffusion assay, and the result found that it was able to inhibit the growth of all tested bacterial species. Therefore, the dishwashing liquid containing longan seed extract was suitable for inhibition of pathogenic bacteria. This supports usage of natural substances and lead to revenue increase receiving from producing natural products.
คำสำคัญ
เมล็ดลำไย, ฤทธิ์ต้านจุลชีพ, สารสกัดจากพืช
Keywords
Longan seed, Antimicrobial activity, Plant extract
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 13:05:58
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก