Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัยในจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
DEVELOPMENT OF PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY USING THE LESSON STUDY PROCESS TO PROMOTE THE LEARNING COMPETENCY OF THE EARLY CHILDHOOD TEACHERS IN CHANTHABURI
ชื่อผู้แต่ง
หฤทัย อนุสสรราชกิจ , วราลี ถนอมชาติ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยการพัฒนาบทเรียนร่วมกันของครูปฐมวัย 2) พัฒนากระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันสำหรับครูปฐมวัยในจังหวัดจันทบุรี 3) พัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัยจากการเข้าร่วมกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน ผู้เข้าร่วมการวิจัย คือ ครูผู้สอนระดับปฐมวัยในจังหวัดจันทบุรี จำนวน 20 คน การดำเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบมีการแทรกแซง ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนากระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัย ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยกระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูปฐมวัย ขั้นตอนที่ 3 การนำกระบวนการไปใช้ปฏิบัติการกับครูปฐมวัยในสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ ปรับปรุงและประเมินผลกระบวนการ และขั้นตอนที่ 5 การสรุปและนำเสนอผลการพัฒนา ผลการวิจัย มีดังนี้ 1. กระบวนการพัฒนาบทเรียนร่วมกันสำหรับครูปฐมวัย ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักของกระบวนการ คือ แนวคิดและหลักการของกระบวนการ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ ขั้นตอน และการประเมินผลกระบวนการซึ่งขั้นตอนหลักที่สำคัญในการดำเนินการตามกระบวนการฯ คือ 1) การวางแผน มีการกำหนดเป้าหมาย และการวางแผนบทเรียน 2) การปฏิบัติการ ประกอบด้วย การสอนและการสังเกตการสอน และ 3) การสะท้อนผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย การอภิปรายผล การปรับปรุงแก้ไขบทเรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. ผลการเรียนรู้ของครู ครูเกิดการพัฒนาตนเองที่สะท้อนสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในประเด็นหลักของการจัดการเรียนรู้ คือ 1) การวางแผนและออกแบบการจัดการเรียนรู้ 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ 3) การประเมินผลการเรียนรู้ 3. ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูปฐมวัย มีลักษณะที่สำคัญ คือ 1) ความเป็นกัลยาณมิตร 2) การมีเป้าหมายร่วมกัน 3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 4) การรวมพลัง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to 1) develop professional learning community of early childhood teachers using the lesson study process 2) develop the lesson study process for the early childhood teachers in Chanthaburi Province and 3) develop the learning competency of the early childhood teachers in Chanthaburi Province. The research participants were twenty of the early childhood teachers from the schools in Chanthaburi province. This study was a qualitative research with intervention. The research consisted of the five steps: 1) a study and analysis of the data about the lesson study process 2) develop the professional learning community using the lesson study process for the early childhood teachers 3) operate the process in the school 4) analysis and evaluate the process and 5) the conclusion of the research results. The findings were as follows: 1. The lesson study process for the early childhood teachers consisted of the main elements as follows ; the concept and the principle of the process, the objective of the process , the strategy of the process, the steps of the process and the evaluation of the process. There were the important steps of the process as follows; 1) planning 2) practicing and 3) learning conclusion and reflection. 2. The teacher’s learning competency occurred in 3 issues: 1) planning and designing the lesson plan 2) operating the learning activities and 3) evaluating the learning 3. The professional learning community (PLC) of the early childhood teachers has the 4 important aspects; 1) the characteristic of the good friend among the teachers 2) the having a common goal 3) the learning sharing and 4) the collaboration
คำสำคัญ
การพัฒนาบทเรียนร่วมกัน, ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ, ครูปฐมวัย
Keywords
lesson study, professional learning community, early childhood teacher
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-01-27 14:17:59
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก