Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
รูปแบบและกระบวนการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของเครือข่ายประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรี ด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาชาวบ้าน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Model and Process Reducing Social Disparities among Trat-and-Chanthaburi Fishermen Network by Principles of Sufficiency Economy and Local Wisdom.
ชื่อผู้แต่ง
ชลพรรณ ออสปอนพันธ์ , นภา จันทร์ตรี , สุเทพ สุสาสนี , ละเว รัตนวาร , สวัสดิ์ ฟูคณะ , อรรถพล นาน่องโกรน
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
โครงการวิจัยรูปแบบและกระบวนการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของเครือข่ายประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรีด้วยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาชาวบ้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบและกระบวนการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของเครือข่ายประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรี 2) ศึกษาเปรียบเทียบสาเหตุและผลกระทบความเหลื่อมล้ำทางสังคมของเครือข่ายประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรี และ 3) ศึกษาวิธีการขับเคลื่อนการนำนโยบายไปปฏิบัติของ องค์กรปกครองท้องถิ่นและเครือข่ายประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรียึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงและ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลคือกลุ่มประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรี จำนวน 8 กลุ่ม จัดเวทีเสวนา 18 ครั้ง ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบและกระบวนการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม คือ 1. การนำแบบการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมมาใช้ขับเคลื่อนกระบวนการลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมของเครือข่ายประมงพื้นบ้านโดยผ่านกิจกรรมการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง กิจกรรมลดรายจ่าย และกิจกรรมเพิ่มคุณภาพชีวิต 2.ระบอบประชาธิปไตยคือรูปแบบแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม 3.การสร้างและการขยายเครือข่ายส่งผลให้กระบวนการลดความเหลื่อมล้ำขับเคลื่อนไปได้ 2. สาเหตุความเหลื่อมล้ำทางสังคมเครือข่ายประมงพื้นบ้านตราดและจันทบุรีเหมือนกันคือมีสาเหตุมาจาก 1. ทรัพยากรชายฝั่งร่อยหรอ 2. ทุน 3. ความยากจน 4. หนี้สิน 5. กฎหมาย ส่งผลให้เกิดผลกระทบคือ 1. ทรัพยากรทางทะเลลดลง 2. เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน 3. การประกอบอาชีพมีการเปลี่ยนแปลง 4. เกิดการแย่งชิงทรัพยากร 5. คุณภาพชีวิตลดลง 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่ายประมงพื้นบ้านควรดำเนินการแก้ไขลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมด้วยการทำงานเชิงบูรณาการกับทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชนแทนการทำงานแบบเดิม
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of the research on model and process to reduce social disparities among Trat and Chanthaburi fishermen network by principles of sufficency economy and local wisdom were : 1) to study the model and process to reduce social disparities among Trat and Chanthaburi fishermen networks, 2) to compare cause and effects of social disparities among local fishing networks in Trat and Chanthaburi and 3) to study the process of policy implementation of local government organization and local fishing network in trat and Chanthaburi base on the suffciency economy and folk wisdom principles. The technique of participatory action research was employed. Research participants includes eight groups of Chanthaburi and Trat’s fishermen networks . The data were collected during their 18 forum dission. The results found that : 1. The model and process to reduce social disparities were to apply participatory action research in driving social disparities process among local fishing networks through three solution: 1. Coastal resource recovery, expense reduction and increase of life quality activities. 2. Democracy was regarded as a process to minimize socail disparities. 3. Creation and expansion of networks were paramount mechanisms of implementing a model and a process aforementioned. 2. The causes of social inequality among local fishing networks in Trat and Chanthaburi were not different, in which the causes were from: 1. gradual depletion of coastal resources, 2. capital, 3. poverty, 4. debt and 5. law that affected: 1. reduction of marine resources, 2. increasing gap between the rich and the poor, 3. change of career, 4. resource scrambling and 5. decrease of life quality. 3. The local government organizations and local fishing networks should solve the social inequality problems by integrally co-operating with all sectors both government and private sectors instead of implementing traditional administration.
คำสำคัญ
รูปแบบ,กระบวนการ,ลดความเหลื่อมล้ำ,เครือข่ายประมงพื้นบ้าน
Keywords
model, process, reducing social disparities, fishermen networks
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-01-28 10:45:50
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย