Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การเก็บรักษาพันธุกรรมกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรในสภาพปลอดเชื้อ ด้วยเทคนิคการชะลอการเจริญเติบโต
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
In vitro germplasm preservation of RenantheracoccineaLour. through slow growth technique
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์ ดร.พรพรรณ สุขุมพินิจ,อาจารย์นงนุช ชนะสิทธิ์,นายอดิศักดิ์ การพึ่งตน(บุคคลภายนอก)
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2558
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษาการเก็บรักษาพันธุกรรมหวายแดงจันทบูรในสภาพปลอดเชื้อด้วยเทคนิคการชะลอการเจริญเติบโต แบ่งการทดลองเป็น 5 การทดลองดังนี้ การทดลองที่ 1 ผลของน้ำมะพร้าวต่อการงอกเมล็ดหวายแดงจันทบูรการทดลองที่ 2ศึกษาอิทธิพลของสารประกอบอินทรีย์ต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรการทดลองที่ 3 ศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตของต้นอ่อนหวายแดงจันทบูรด้วยน้ำตาลแมนนิทอลเพื่อยืดระยะเวลาการย้าย การทดลองที่ 4 ศึกษาการชะลอการเจริญเติบโตของต้นอ่อนหวายแดงจันทบูรด้วยน้ำตาลซูโครส และการทดลองที่ 5 อัตราการมีชีวิตรอดภายหลังการย้ายปลูก การศึกษาอิทธิพลของน้ำมะพร้าวต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรพบว่า การใช้น้ำมะพร้าวที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน เมล็ดกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรสามารถงอกได้แต่ใช้ระยะเวลาในการงอกนาน และให้เปอร์เซ็นต์ความงอกต่ำจึงใช้สารอินทรีย์ชนิดอื่น ๆ เติมลงในอาหารสังเคราะห์สูตร Vacin and Went (1949) เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารประกอบอินทรีย์ทั้ง 3 ชนิดได้แก่ กล้วยหอม มันฝรั่งบด และน้ำมะพร้าวพบว่าการเติมสารประกอบอินทรีย์มีผลต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดยอาหารสังเคราะห์สูตร VW ร่วมกับการเติมมันฝรั่ง 100 กรัมต่อลิตร ส่งผลให้เมล็ดกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรงอกเร็วที่สุดคือ 26.3วัน และอาหารสังเคราะห์สูตร VW ที่การเติมน้ำมะพร้าว 100 มิลลิลิตรต่อลิตร ร่วมกับมันฝรั่งบด 50 กรัมต่อลิตร สามารถกระตุ้นการงอกของกล้วยไม้หวายแดงจันทบูรอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติมีเปอร์เซ็นต์ความงอกมากที่สุด คือ 80.0 เปอร์เซ็นต์ ส่วนผลการชะลอการเจริญเติบโตของต้นอ่อนหวายแดงจันทบูรภายหลังการทดลองเป็นระยะเวลา 6 เดือน ด้วยน้ำตาลแมนนิทอล และซูโครส พบว่าแมนนิทอลระดับความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ สามารถชะลอความสูงของลำลูกกล้วยได้ มีความสูงของลำลูกกล้วยเฉลี่ย 0.64 เซนติเมตร และมีขนาดของลำลูกกล้วย 0.19 ถึง 0.25 เซนติเมตร สำหรับการใช้น้ำตาลซูโครสพบว่าที่ระดับความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์สามารถชะลอความสูงของลำลูกกล้วยได้ดี มีความสูงเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ 1.97 เซนติเมตร และมีขนาดของลำลูกกล้วยอยู่ระหว่าง 0.23ถึง 0.34 เซนติเมตร
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
In vitro germplasm preservation ofRenantheracoccineaLour. through slow growth technique consisted of five experiments, the first experiment studied on effect of coconut water on seed germination, the second one studied on effect of natural organic compounds, the third experiment studied on slow growth technique by using mannitol, the forth experiment studied on slow growth technique by using sucrose and the last was acclimatization of RenantheracoccineaLour.. Effects of coconut water on In vitro seed germination of RenantheracoccineaLour. has been conducted using mature pods (approximately 7 months) collected from Chanthaburi provinces. The germination of R. coccineaLour.was initiated within 75 to 121 days culture and 12 to 14 percentage germination. The effects of natural organic compounds showed that the germination of R. coccineaLour. was initiated within 26.3 to 67.3 days culture which the highest germination frequency showed on Vacin and Went (1949) medium supplemented with 100 ml/l coconut water and 50 g/l fresh potato with 80.0 germination percentage.The effects of mannitol and sucrose to reduced plant growth were studied separately for subculture prolonging. The results showed that 10 % mannitol and 10 % sucrose reduced plant height (0.64 and 1.97 centimeter, respectively) and increased psuedo-bulb diameter (0.19 to 0.25 centimeter and 0.23 to 0.34 centimeter, respectively).
คำสำคัญ
กล้วยไม้หวายแดง
Keywords
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-02-18 15:42:29
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก