Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากเงาะด้วยเครื่องต้นแบบ
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Development of Vinegar Production From Rambutan by Prototype Acetifier
ชื่อผู้แต่ง
ผศ.วริศชนม์ นิลนนท์,นางสาวหยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์,นายประมวล ศรีกาหลง(บุคคลภายนอก)
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2556
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
เครื่องต้นแบบในการผลิตน้ำส้มสายชูหมักได้ผ่านการออกแบบ และใช้ในการพัฒนา กระบวนการผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากเงาะ ตัวเครื่องประกอบด้วยถังสแตนเลสรูปทรงกระบอก สำหรับการหมักเอธิลแอลกอฮอล$และกรดอะซิติก ประกอบด้วยปั๊มหมุนเวียนน้ำหมัก ปั๊มอากาศ เครื่องกรองออกซิเจน ท่อนำส่งไวน์ วาล์วควบคุมการปิด-เปิด เครื่องวัดอุณหภูมิ ตัวกรองไวน์ และ วาล์วควบคุมความปลอดภัย ปริมาตรความจุ 50 L ในกระบวนการหมักใช้ยีสต์สายพันธุ์ Saccharomyces cerevisae (TISTR 5606) และแบคทีเรียสายพันธุ์ Acetobacter aceti (TISTR 354) สารตั้งต้น สําหรับการหมักประกอบด้วยแอลกอฮอล์ 8.0 % (v/v) และ กรดอะซิติก 1 % (v/v) ผลการวิจัย พบว่า อัตราส่วนของวัตถุดิบต่อน้ำ 1 : 3 ให้ระดับแอลกอฮอล์สูงสุด 9.70 % (v/v) และ การใช้ อัตราส่วนของวัตถุดิบต่อน้ำ 1 : 1 ให้ปริมาณกรดอะซิติกสูงสุด 6.76 % (v/v) ที่อุณหภูมิ 30±2°C ด้วยจลนพลศาสตร์ของอัตราการผลิตกรดอะซิติก 0.85 g/L-h และปริมาณกรดอะซิติก 64.6 g/L ผลการ วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์สุดท้าย ผลิตภัณฑ์น้ำส้มสายชูหมักมีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
A pilot plant scale acetifier was designed for Development of rambutan vinegar production. The acetifier consisted basically of a stanless still cylinder reactor with ethyl alcohol fermentation tank and acetic acid fermentation, recycling pump, air pump, oxygen filter, oxygen pump, wine supplying tube, wine filter, inlet-outlet control value, temperature sensor and safety value. The working volume is constituted by 50 L of acetifying medium with 8.0% (v/v) initial alcohol concentration from fresh fruit wine and 1.0 % (v/v) acidity of vinegar. The strain used Saccharomyces cerevisae (TISTR 5606) and Acetobacter aceti (TISTR 354). The results showed that the 1:3 ratio and 1:1 ratio (rambutan : water) gave the maximum ethanol and acetic acid concentration (9.70 % v/v and 6.76 % v/v) at 30±2°C. The kinetics of acetication rate was 0.85 g/L-h and 64.6 g/L of acetic acid concentration. In the final quality analysis, it was showed that the finished product had government standard.
คำสำคัญ
น้ำส้มสายชู
Keywords
Vinegar
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-02-27 15:09:23
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก