Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การเพิ่มประสิทธิภาพหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Efficiency Increasement of the Public Relations Robot
ชื่อผู้แต่ง
คมสัน มุ่ยสี , กฤษณะ จันทสิทธิ์ , สินาด โกศลานันท์ และ ปรมินทร์ วงษ์เจริญ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ปัจจุบันผู้สนใจเข้าศึกษาในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีมีจำนวนลดน้อยลงเนื่องจากปัญหาจำนวนประชากรในวัยกำลังศึกษาลดลง อีกปัญหาหนึ่งผู้สมัครเข้าศึกษาไม่ทราบข้อมูลหลักสูตรภายในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หากสามารถทำให้ข้อมูลเข้าถึงผู้รับได้โดยตรงผ่านหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์2 จะทำให้มีข้อมูลในการตัดสินใจและมีความสนใจในการเข้าศึกษาเพิ่มมากขึ้น งานวิจัยนี้พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์1 ใช้ระบบฟัซซี่ลอจิก สมาชิกอินพุต 9 ตัวแปร สมาชิกเอาต์พุต 9 ตัวแปรควบคุมการเคลื่อนที่ ใช้ระบบตรวจจับความเคลื่อนไหวสิ่งมีชีวิต หุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์จะหยุดเคลื่อนที่เมื่อมีผู้ที่ต้องการรับข้อมูลยืนอยู่บริเวณด้านหน้าเพื่อค้นหาข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ระบบจอสัมผัส ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าหุ่นยนต์เคลื่อนที่อิสระสามารถใช้ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ระบบจอสัมผัส หลบหลีกสิ่งกีดขวางที่ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตได้เองและจะหยุดเคลื่อนที่ได้เองเมื่อมีสิ่งมีชีวิตอยู่ด้านหน้าหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์ เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงสุด 18 เมตรต่อนาที ใช้งานได้ 12 ชั่วโมงต่อการประจุพลังงาน 1 ครั้ง ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีในการรับข่าวสารจากหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์2 มีค่าเฉลี่ย 4.1 คะแนน ผลประเมินด้านความสวยงามด้านรูปทรงหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์2 มีค่าเฉลี่ย 3.9 จากคะแนนเต็ม 5.00 คะแนน ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พอใจมากมีประสิทธิภาพเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 9 % เมื่อเปรียบเทียบกับหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์1
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Nowadays, University enrollment at the Faculty of Industrial Technology, Rambhai Barni Rajabhat University has been a continuing decrease number of populations at the age of education. Students who are enrolled in university do not know how the university system work and have not information of the faculty curriculum. Therefore, this research presented the public relation robotic2 that was designed for the Faculty of Industrial Technology, Rambhai Barni Rajabhat University. It could be directly accessible to the recipients and provide the requested information to make decisions and create interest in studies for them. The researcher aimed to increase the efficiency of the public relation robot1 using the Fuzzy logical system, 9 member variables of input, 9 member variables of output motion control systems, using the motion detection system, the robot will stop moving when people wanted to receive information, standing in front of it to search for information via the computer touch screen system. The experimental results showed that the public relations robot2 could be used to publicize information with the computer touch screen system, avoiding non-living obstacles by themselves. It would stop moving when there were the living creatures in front of the public relation robot with 18 m/min of movement speed design and could be used for 12 hours. The overall evaluation of user’s satisfaction, students and personnel at Rambhai Barni Rajabhat University, in receiving information from the public relations robot2, with an average of 4.1 points as well as the overall evaluation of the robot a esthetic’s design was an average of 3.9 out of 5.00 points, which was at a very good level with increased efficiency up 9% compared to the public relations robot1.
คำสำคัญ
หุ่นยนต์ , ประชาสัมพันธ์ , ฟัซซี่ลอจิก
Keywords
Robot, Public relations, Fuzzy Logic
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-09-30 15:54:26
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก