Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การปรับปรุงระบบน้ำอุปโภค-บริโภค (เพื่อกำจัดความขุ่นและเหล็กที่ปนเปื้อน)
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Total Iron and Turbidity Removal in Tap Water
ชื่อผู้แต่ง
อลงกต ไชยอุปละ , เกรียงไกร ตรีฤทธิวิทยา , กฤษณะ จันทสิทธิ์ และ คมสัน มุ่ยสี
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2558
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ในพื้นที่การเกษตรที่มีการใช้น้ำบาดาลในการอุปโภค สร้างปัญหาให้กับผู้ใช้คือ ภาชนะมีคราบสีเหลืองโดยผู้ศึกษาจะใช้ปริมาณสารไตรคลอโรไอโซไซยานูริกแอซิดที่เหมาะสมโดยกลไกการออกซิไดซ์เพื่อลดปริมาณเหล็กและความขุ่นของน้ำบาดาล การทดลองได้ใช้น้ำจากบ่อบาดาลและแบ่งน้ำออกเป็น 4 ตัวอย่าง โดยมีปริมาณในแต่ละตัวอย่าง คือ 143 ลิตร บรรจุอยู่ในภาชนะสำหรับทดสอบเพื่อเติมสาร สารที่นำมาใช้ คือ สารไตรคลอโรไอโซไซยานูริกแอซิด โดยใช้ปริมาณในแต่ละตัวอย่างน้ำอยู่ที่ 110 230 360 และ 500 มิลลิกรัม ตามลำดับ ซึ่งผลจากการเติมปริมาณของสารทั้ง 4 ระดับ ลงในน้ำบาดาล เพื่อลดความขุ่นและปริมาณเหล็กในน้ำบาดาลของน้ำทั้ง 4 ตัวอย่าง ค่าความขุ่นลดลงมาอยู่ในช่วง 3.0 ถึง 10 NTU เหล็กมีค่าในช่วง 1.23-3.48 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่า pH เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ปริมาณคลอรีนคงเหลือที่เหมาะสมมีค่า 0.20 มิลลิกรัมต่อลิตรที่ปริมาณการเติมสาร 350-360 มิลลิกรัมซึ่งคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคือ 0.2-1.2 มิลลิกรัมต่อลิตรดังนั้นปริมาณสารเคมีที่เหมาะต่อการใช้งานคือ 350-360 มิลลิกรัม
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
In the agricultural area where the groundwater is used for consumption,create a problem for user. The researchers used the trichloroisocyanuric acid to reduce iron content and turbidity in groundwater. In experiments, groundwater was divided into 4 samples, which had 143 liter per sample. The groundwater sample was contained in sample holder for filling trichloroisocyanuric acid. The quantity of trichloroisocyanuric acid filled in each sample was 110, 230, 360 and 500 milligrams respectively. The result showed that the turbidity decreased in the range of 3.0 to 10.0 NTU; iron decreased in the range 1.23-3.48 milligrams per litre and pH value changed slightly. The optimum residual chlorine is 0.20 milligrams per litre as trichloroisocyanuric acid 350-360 milligrams, the standard is 0.2-1.2 milligrams per liter. Consequently, the optimal quantity of trichloroisocyanuric acid for using is 350-360 milligrams.
คำสำคัญ
น้ำบาดาล ปริมาณเหล็ก ความขุ่น ไตรคลอโรไอโซไซยานูริกแอซิด
Keywords
groundwater, iron, turbidity, trichloroisocyanuric acid
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 14:27:47
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก