Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ตัวแบบเพื่อพยากรณ์ความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Model for Forecasting Well-being of the Elderly: case study in Songpenong Subdistrict, Thamai District, Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
วิทมา ธรรมเจริญ , นิทัศนีย์ เจริญงาม และ นิตยา ชนะสิทธิ์
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุ และสร้างตัวแบบเพื่อพยากรณ์ความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุในตำบลสองพี่น้อง อำเภอ ท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในตำบลสองพี่น้องจำนวน 295 คน โดยใช้การสุ่มแบบสองขั้น (Two-Stage Sampling) และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ และการหาความสัมพันธ์ ส่วนสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ โดยใช้โปรแกรมทางสถิติในการประมวลผล ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุ ได้แก่ สถานการณ์ด้านการเงิน ( ) ปัจจัยด้านการปฏิบัติภารกิจทางสังคมและศาสนา ( ) ปัจจัยด้านชีวิตครอบครัว ( ) โดยปัจจัยทั้ง 3ร่วมกันอธิบายความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 25.40 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งสามารถสร้างตัวแบบเพื่อพยากรณ์ความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุ ในตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ในรูปคะแนนมาตรฐาน (สัมประสิทธิ์ถดถอยที่ปรับค่าแล้ว)
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this research were to study factors influencing for Well-being of the Elders and created Model for Forecasting Well-being of the Elders case study in Songpenong subdistrict, Thamai district, Chanthaburi province. The samples were 295 elders. The samples were 295 elders who were selected by two-stage sampling method. The research tools were descriptive statistics, frequency, percentage and correlation coefficient. The statistics used were inferential statistics and Multi Regression Analysis. The results showed that financial flow ( ) , social and religious activity ( ), family ( ) influenced Well-being of the Elders. These 3 aspects could explain the variation of Well-being of the Elders as 25.40 percent at the 0.05 significance level. It created the predictive equation Well-being of the Elderly (Standardized Coefficients)
คำสำคัญ
พยากรณ์, ความอยู่ดีมีสุข, ผู้สูงอายุ
Keywords
Forecasting, Well-being, Elderly
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-04-28 14:02:52
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก