Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การออกแบบและพัฒนาชุดการทดลองเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์โดยใช้สมาร์ทโฟน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Design and development of stochiometry experiment using smartphone
ชื่อผู้แต่ง
อาภาพร บุญมี และ นันทพร มูลรังษี
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้ได้ออกแบบและพัฒนาชุดการทดลองเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์โดยใช้สมาร์ทโฟน โดยองค์ประกอบของชุดการทดลองนี้ได้แก่ สารตั้งต้นสองชนิดคือ สารละลายเหล็ก (II) ไนเตรท (Fe(NO3)3) และสารละลายโพแทสเซียมไทโอไซยาเนต (KSCN) คิวเวทต์พลาสติก หลอดฉีดยา พลาสติก แท่นโฟม และสมาร์ทโฟน ซึ่งเมื่อนำสารตั้งต้นทั้งสองชนิดนี้มาทำปฏิกิริยากันเกิดผลิตภัณฑ์เป็นสารละลายสีแดงของเหล็ก (II) ไทโอไซยาเนต (FeSCN2 ) ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นถูกนำมาตรวจวัดความเข้มสีโดยอาศัยการวิเคราะห์จากภาพถ่ายของสารละลายด้วยโปรแกรมในสมาร์ทโฟน ค่าความเข้มสีที่ได้จากการวิเคราะห์นี้นำมาสร้างกราฟเทียบกับปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไทโอไซยาเนต เพื่อใช้ในการอธิบายความหมายของปริมาณสารสัมพันธ์และสารกำหนดปริมาณ โดยกราฟที่ได้จากการใช้สมาร์ทโฟนเมื่อเทียบกับการใช้เครื่องยูวีวิสิเบิลสเปกโทรมิเตอร์พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้นชุดการทดลองที่พัฒนาขึ้นนี้จึงสามารถนำมาใช้ในการสอนได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่มีราคาสูง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
In this work, the stoichiometry experimental kit was designed and developed by using smartphone. The composition of this kit included two reactant solutions; iron (III) nitrate (Fe(NO3)3) and potassium thiocyanate (KSCN), plastic cuvettes, plastic syring, foam platform and smartphone. Red complex of Iron (II) thiocyanate (FeSCN2 ) produced from the reaction was captured a picture and analyzed by using the application program in smartphone. Graph between the KSCN volume and the blue intensity of FeSCN2 were plotted and used to understanding the limiting reagent meaning. The graphs from smartphone and UV-visible spectrometer analysis were compared and did not found significantly different from both equipment. Simplicity of this experimental kit can be used for stoichiometry learning without using inexpensive scientific equipment.
คำสำคัญ
ปริมาณสารสัมพันธ์, สารกำหนดปริมาณ, สมาร์ทโฟน, ชุดการทดลอง
Keywords
stoichiometry, limiting reagent, smartphone, experimental kit
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 14:06:52
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก