Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
แนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ในสาระศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม ของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Guidelines to Promote Teaching of Social Studies in Religions,Moralities, and Ethics for Teachers under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office
ชื่อผู้แต่ง
พัชรินทร์ รุจิรานุกูล , สุรีย์มาศ สุขกสิ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ในสาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม และหาแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ในสาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 47 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .58 - .95 และค่าความเชื่อมั่นแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ .95 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 และเขต 2 จำนวน 348 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ใช้วิธีการสนทนากลุ่มและวิเคราะห์เนื้อหาตามกรอบสนทนากลุ่มเพื่อหาแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ในสาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม สำหรับครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในสาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 2) ด้านการวัดและประเมินผล 3) ด้านครูผู้สอน อยู่ในระดับมาก และ 4) ด้านแหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัญหาการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในสาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านจากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) ด้านแหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 2) ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน อยู่ในระดับปานกลาง 3) ด้านครูผู้สอน และ 4) ด้านการวัดและประเมินผล อยู่ในระดับน้อย 3. กลไกสำคัญในการจัดการเรียนรู้ คือ ครูผู้สอน ที่ต้องให้ความสำคัญทั้งกิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน โดยแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในสาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ได้แก่ 1) ส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้และมีทักษะสำคัญอย่างต่อเนื่อง 2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ไม่เน้นการท่องจำมากเกินไป 3) พัฒนาการผลิตสื่อและออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย รวมทั้งส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน 4) พัฒนาความรู้ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้แก่ครูผู้สอน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดวิธีการวัดผล
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this research were to study conditions and problems of social study learning management in the areas of religion, moral and ethics and find guidelines to promote social study learning management of those subjects for teachers in the schools under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office. The research instrument was a five-level rating scale with 47 items. Its discrimination power per item was between .58 - .95, and the reliability of the whole questionnaire was at .95. The sample included 348 teachers who taught social study, religion and culture in the schools under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office 1 and 2, gaining from multi-stage sampling. The collected data were analyzed using percentage, mean ( ) and standard deviation (SD). Focus group discussion and content analyzes according to the discussion were employed in order to find guidelines to promote social study learning management of religion, moral and ethics subjects for the teachers in the schools under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office. The results in this research showed that: 1. The condition of social study learning management on religion, moral and ethics subjects of the teachers in the schools under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office as a whole was at a high level. When looked at individual item, ranging from higher to lower, found that 1) teaching and learning activities, 2) assessment and evaluation, and 3) teachers were at a high level, and 4) learning resource and media were at a medium level; 2. The problems of social study learning management for religion, moral and ethics subjects of the teachers in the schools under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office in total was at a medium level. When ranging each item from higher to lower, it showed that; 1) learning resource and media was at a high level; 2) teaching and learning activities were at a medium level; 3) the teachers, and 4) assessment and evaluation were at a low level 3. The essential mechanism of learning management was the teachers themselves. They needed to pay attention on learning activities, learning resources and media, assessment and evaluation, and learning management in which the learners could genuinely apply learned knowledge in their daily lives. The guidelines to promote social study leaning management of religion, moral, and ethics subjects included; 1) encouraging and developing the teachers to continuously have necessary knowledge and skills; 2) promoting varieties of teaching and learning activities that facilitated learning in which these activities should not focus too much on memorizing; 3) developing various learning media innovation and design as well as encouraging the learners to use different learning resources outside the classroom, and 4) improving assessment and evaluation skills for the teachers in order to encourage them to participate in stipulating an evaluation method.
คำสำคัญ
การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา, สาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี
Keywords
Teaching of Social Studies, Religions Moralities and Ethics, Chanthaburi Primary Educational Service Area Office Area Office
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-01-30 16:27:20
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย