Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาชุดกิจกรรมทักษะการคิดเพื่อส่งเสริมการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The development of thinking activity package for enhancing management experiences of early childhood in local organization, Chanthaburi
ชื่อผู้แต่ง
วราลี ถนอมชาติ และ นภัส ศรีเจริญประมง
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรีให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้ชุดกิจกรรมทักษะการคิดเพื่อส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในท้องถิ่นจังหวัดจันทบุรี และ 3) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของครูที่มีต่อชุดกิจกรรมทักษะการคิด ผู้เข้าร่วมวิจัย ครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านแก้ว จำนวน 30 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย การดำเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพวิธีการดำเนินการวิจัยเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนาชุดกิจกรรมทักษะการคิดฯ ประกอบด้วย 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 การพัฒนาต้นแบบชุดกิจกรรมทักษะการคิดฯ ช่วงที่ 2 การทดลองใช้ต้นแบบชุดกิจกรรมทักษะการคิดฯ และช่วงที่ 3 การวิเคราะห์และปรับชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ และระยะที่ 2 การสรุปและนำเสนอผลการวิจัย ผลการวิจัย มีดังนี้ 1. จากการใช้ชุดกิจกรรมทักษะการคิดเพื่อส่งเสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยที่สร้างขึ้นเมื่อนำมาทดลอง พบว่า ชุดกิจกรรมทักษะการคิดมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.86/82.85 2. ค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ด้านความคิดริเริ่มและความคิดคล่องแคล่วของกลุ่มทดลอง สูงกว่าคะแนนทักษะความคิดสร้างสรรค์ของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. หลังการจัดกิจกรรมโดยใช้ชุดกิจกรรมทักษะการคิดฯ พบว่า ระดับความพึงพอใจของครูที่มีต่อชุดกิจกรรมทักษะการคิด อยู่ในระดับมาก
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this research were; 1) to promote a learning management experiences of early childhood in local organization, Chanthaburi based on 80/80 2) to study the results of thinking activity package for enhancing management experiences of early childhood in local organization, Chanthaburi, and 3) to investigate the satisfaction of teachers toward the thinking activity package to promote thinking skills. The research participants were 30 early childhood students in Bankeaw school. The research consisted of 2 phases: 1) the development of thinking activity package for enhancing management experiences of early childhood in local organization, Chanthaburi consisting of 3 steps: (1) developing the thinking activity package model, (2) preliminary field study of the the thinking activity package model, and (3) analysis and revision of the thinking activity package, and 2) the conclusion of the research results. The findings were as follows: 1. The results of thinking activity package for enhancing management experiences of early childhood students attained the efficiency index at 81.86/82.85 2. The results of the analysis of the effectiveness of thinking activity package using t-test showed that the post-test scores of the experimental group were significantly different the pre-test scores of the experimental group at the level of .01 3. After using thinking activity package, the satisfaction of the teachers was at a high level.
คำสำคัญ
ชุดกิจกรรมทักษะการคิด , ทักษะการคิด , การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
Keywords
thinking activity package , thinking skills , management experiences of early childhood students
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-01-28 11:12:13
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก