Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาเกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Development of Brain Exercise Game for Dementia for Older Persons Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
สุนิตย์ตา เย็นทั่ว และ นที ยงยุทธ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2565
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาเกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นก่อนและหลังการการใช้เกมฝึกบริหาร สมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี และ 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อเกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลพลับพลา อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี จำนวน 30 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย มีดังนี้ 1) เกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี 2) แบบทดสอบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นก่อนและหลังการการใช้เกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อเกมฝึกสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ สถิติที่ใช้ในการวิจัยค่าเฉลี่ย (x ̅) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และใช้สถิติค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) เกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุจังหวัดจันทบุรี อยู่ในระดับมีคุณภาพความเหมาะสมมากที่สุด (x ̅=4.67, S.D.=0.48), 2) ผลการเปรียบเทียบการทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นในผู้สูงอายุ หลังใช้เกมสูงกว่าก่อนใช้เกมฝึกบริหารสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีต่อเกมฝึกบริหารสมองเพื่อช่วยชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี อยู่ในระดับมากที่สุด (x ̅= 4.66, S.D. = 0.59)
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purpose of this research was 1) to develop efficient Brain Exercise Game for Dementia for Older Persons Chanthaburi Province, 2) to compare brain testing score between before using and after using the Brain Exercise Game for Dementia for Older Persons Chanthaburi Province and 3) to evaluate satisfaction level of Brain Exercise Game for Dementia for Older Persons Chanthaburi Province The sample used in the research was a group of 30 Older Persons from Municipality Elderly School, Phlapphla sub-district, Muang district, Chanthaburi province gaining from simple random sampling. The research instruments were : 1) of Brain Exercise Game for Dementia for Older Persons, 2) the Mini Mental State Examination Thai 2002 and 3) satisfaction questionnaire from older persons brain exercise game for dementia statistics used for data analysis included mean, standard deviation and percentage. The results found that: 1) Brain Exercise Game for Dementia for Older Persons Chanthaburi Province had the efficiency at the excellent level (x ̅ =4.67, S.D.=0.48), 2) the post-test brain-testing score of the participants was higher than the pre-test score of them with statistical significance at the .05 level. and 3) older Persons felt satisfied after using the developed game at a very high level level (x ̅ = 4.66, S.D. = 0.59)
คำสำคัญ
เกมฝึกบริหารสมอง, ภาวะสมองเสื่อม, ผู้สูงอายุ
Keywords
Brain Exercise Game, Dementia, Older Persons
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2024-01-25 16:18:24
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก