Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การวิจัยเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประมงพื้นบ้านจันทบุรีและตราดด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง และภูมิปัญญาชาวบ้าน
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Research Program for Empowerment of Fishermen Network in Chanthaburi and Trat Based on the Principles of Sufficiency Economy and local wisdom.
ชื่อผู้แต่ง
ชลพรรณ ออสปอนพันธ์ , ภาษิต ลิ้มประยูร , สุเทพ สุสาสนี , สวัสดิ์ ฟูคณะ , ละเว รัตนวาร
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
โครงการวิจัยเพิ่มศักยภาพเครือข่ายประมงพื้นบ้านจันทบุรีและตราดด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาชาวบ้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาเปรียบเทียบสาเหตุและผลกระทบการร่อยหรอของทรัพยากรชายฝั่งทะเลจังหวัดจันทบุรีและตราด 2.ศึกษาแนวทางการเพิ่มศักยภาพของกลุ่มประมงพื้นบ้านต้นแบบจังหวัดจันทบุรีและตราด 3.ศึกษาวิธีการขับเคลื่อนการนำนโยบายไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่ายประมงพื้นบ้านจังหวัดจันทบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1. สาเหตุความร่อยหรอของทรัพยากรชายฝั่งทะเลจังหวัดจันทบุรีและตราดไม่แตกต่างกัน มีสาเหตุดังนี้ 1. สภาพอากาศแปรปรวน ระบบนิเวศไม่สมดุล 2.ปริมาณครัวเรือนเพิ่มขึ้น 3.การทำนากุ้งมีปริมาณเพิ่มขึ้น 4.ปัญหากัดเซาะชายฝั่งยังมีปริมาณมาก 5.ปริมาณนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นและ6.การใช้สารเคมีในการทำสวนผลไม้ ส่งผลให้เกิดผลกระทบดังนี้ 1.ปริมาณทรัพยากรสัตว์น้ำร่อยหรอ 2.ชาวบ้านมีรายได้น้อยลง 3.มีการเปลี่ยนฐานะจากเจ้าของกิจการเป็นลูกจ้าง 4.ป่าชายเลนลดลง 5.สารปนเปื้อนจากขยะเพิ่มขึ้นและ6.สารเคมีจากการทำสวนผลไม้ไหลลงแหล่งน้ำสู่ทะเลทำให้คุณภาพน้ำเปลี่ยนไป 2. พบว่าแนวทางการเพิ่มศักยภาพคือ 1. เพิ่มกิจกรรมการมีส่วนร่วมระหว่างกลุ่มประมงพื้นบ้าน มหาวิทยาลัย ชาวบ้าน หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้มีความหลากหลายมากขึ้น 2. เงินอุดหนุนจากภาครัฐทั้งรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นควรเพิ่มเงินอุดหนุนการดำเนินกิจกรรมของเครือข่ายและกลุ่มประมงพื้นบ้าน 3. กลุ่มประมงพื้นบ้านจะต้องดำเนินงานของเครือข่ายมากกว่าที่จะดำเนินงานเพียงลำพัง 4. เพิ่มการอบรมเพิ่มเติมข้อกฎหมายระเบียบและเครื่องมือประมงและ 5. การประชุมกลุ่มประมงพื้นบ้านและเครือข่ายต้องดำเนินการสม่ำเสมอจริงจัง 3. พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีพื้นที่หรืออาณาเขตติดชายฝั่งทะเลควรจัดทำแผนนโยบายและโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาการร่อยหรอของทรัพยากรชายฝั่งเองมากกว่าเป็นเพียงผู้ให้ความอนุเคราะห์ให้โครงการของหน่วยงานจากภายนอกดำเนินไปได้สำเร็จ และเป็นการแก้ไขปัญหาตรงกับความต้องการของท้องถิ่นเอง
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This study is part of a network-strengthening project among Chanthaburi’s local fishery networks and Trat’s. The principles of sufficiency economy and folk wisdom were integrated within this project. There are three objectives in this study. The first objective was to compare coastal resource depletion’s causes and effects in both Chanthaburi and Trat provinces. The results revealed that causes of coastal resource depletion in both provinces were not different. The causes included; 1) climate variability and ecological imbalance; 2) an increasing number of households; 3)an increasing amount of shrimp farming; 4) large areas of coastal erosion; 5)an increasing number of tourists, and; 6) chemical contamination from orchards, resulting in worse water quality. The second objective was to study ways of increasing local fishery groups and networks’ strengths among both provinces. The results revealed five strengthening ways. These five ways were; 1) encouraging participatory activities among local fishery groups and networks, universities, villagers, government and private sectors; 2) providing local fishery groups and networks with a larger amount of subsidies from both central-and-local-leveled governments in order to foster provision of activities among them; 3) fostering fishery groups to co-operate with fishery networks instead of taking actions individually; 4) providing local fishery groups and networks with extra trainings about law and regulations of fishing nets and gears, and; 5) holding meetings among the local fishery groups and networks with consistent frequency. The third objective was to study the ways in which local administration offices and fishery networks put their policies into practice. The results revealed and suggested as follows. Instead of subsidizing external organizations to complete the projects of coastal resource conservation, local administration offices situated on coasts should create policies and projects to reduce the depletion of coastal resource by themselves. This should be more potential to solve the local fishery groups and networks’ right problems and meet their exact needs.
คำสำคัญ
เพิ่มศักยภาพ , ประมงพื้นบ้าน , หลักเศรษฐกิจพอเพียง , ภูมิปัญญาชาวบ้าน
Keywords
strengthening , local fishery , sufficiency economy , local wisdom
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2019-09-26 16:05:44
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย