Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การใช้ถั่วพูเป็นวัตถุดิบโปรตีนในอาหารปลานิล
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Use of Princess Bean for Nile Tilapia Diets
ชื่อผู้แต่ง
สราวุธ แสงสว่างโชติ และ พรพรรณ สุขุมพินิจ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษาการใช้ถั่วพูเป็นวัตถุดิบโปรตีนทดแทน ในสูตรอาหารเลี้ยงปลานิลอายุประมาณ 45 วัน ที่ปริมาณระดับต่างๆ กัน 4 ระดับ โดยใช้ใบและเมล็ดถั่วพูบดแห้งทดแทนในสูตรอาหารที่ระดับ คือ 0, 10, 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ทำการทดลอง 3 ซ้ำ โดยปลานิลที่ใช้ในการทดลองมีน้ำหนัก 2-3 กรัม และมีความยาว 4-5 เซนติเมตร ทำการทดลองเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ให้อาหารวันละ 3 มื้อ คิดเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว พบว่าปลานิลสามารถยอมรับอาหารได้ทุกสูตรอาหารโดยในสูตรที่ใช้ใบถั่วพู 30 เปอร์เซ็นต์ มีค่าน้ำหนักตัวเฉลี่ย ความยาวเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยดีที่สุดใกล้เคียงกับสูตรที่ใช้เมล็ดถั่วพู 30 เปอร์เซ็นต์ และอัตราการรอดตายเฉลี่ย มีค่าสูงในทุกๆ สูตรอาหารมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักตัวเฉลี่ย ค่าความยาวเฉลี่ย อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยดีที่สุด เท่ากับ 10.347±0.215 กรัม 8.063±0.361 เซนติเมตร และ 0.133±0.215 กรัมต่อตัวต่อวัน จึงเป็นแนวทางที่น่าสนใจในการใช้ส่วนต่างของถั่วพูไปใช้เป็นวัตถุดิบโปรตีนในการผลิตอาหารสัตว์น้ำ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The experiment on using of princess bean for Nile Tilapia Diet (Oreochromis niloticus, Linnaeus) at level of leaves and ground dried seeds at 0, 10, 20 and 30 percentage were conducted in 3 replications. The fish with initial body weight at 2-3 g and the length at 4-5 cm were fed with 10 percentage of body weight thrice daily for 8 weeks. There were no differences among the treatments on the values of average body weight, length, growth rate and survival rate. At the level of 30 percent of princess bean’s leaves and ground dried seeds showed the highest average body weight, promoting average fish length and growth rate with 10.347±0.215 g, 8.063±0.3613 cm. and 0.133±0.215g /fish /day, respectively. The resulted found that princess bean could replace for meal protein for Nile Tilapia.
คำสำคัญ
ถั่วพู, อาหารปลานิล, แหล่งโปรตีน
Keywords
Princess Bean, Nile Tilapia diet, Protein sources
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 10:26:22
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก