Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอล นิโญ และลานีญาต่อผลผลิตทางการเกษตรของลุ่มน้ำจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Effects of El Niño and La Niña phenomenon on agricultural products in Chanthaburi basin
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์เกรียงไกร ตรีฤทธิวิทยา,อาจารย์อลงกต ไชยอุปละ,อาจารย์กิตติรัตน์ รุ่งรัตนาอุบล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2558
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การศึกษาครั้งนี้เป็นการหาความสัมพันธ์เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และปริมาณน้ำฝน โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression Model) โดยพื้นศึกษาในลุ่มน้ำจันทบุรี ซึ่งพื้นที่การเกษตรประมาณ 2.46 ล้านไร่ มีความต้องการใช้น้ำในภาคการเกษตรประมาณ 687.86 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี โดยพืชเศรษฐกิจสำคัญ เช่น ทุเรียน มังคุด ลำไย ลิ้นจี่ ลองกอง เป็นต้น ซึ่งจากการรวบรวมข้อมูลปริมาณน้ำฝนรายปี 30 ปีย้อนหลัง ของสถานีตรวจวัดปริมาณน้ำฝน 7 สถานี พบว่ามีแนวโน้มปริมาณน้ำฝนรายปีสูงขึ้น โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 31.22 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,818.801 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งมีปริมาณฝนสูงสุด 2,541.717 ล้านลูกบาศก์เมตร ในปี พ.ศ. 2543 และปริมาณฝนต่ำสุด 971.862 ล้านลูกบาศก์เมตร ในปี พ.ศ. 2543 และเมื่อพิจารณาในรายเดือน พบว่ามีแนวโน้มปริมาณฝนสะสมรายเดือนสูงขึ้นในเดือนมกราคม, กุมภาพันธ์, มีนาคม, เมษายน, พฤษภาคม, มิถุนายน, กรกฎาคม, สิงหาคม, กันยายน และธันวาคม และมีแนวโน้มปริมาณฝนสะสมรายเดือนลดลงในเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน และพบว่าแนวโน้มอยู่ในช่วง -0.695 ถึง 6.578 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ทำนองเดียวกันจากการรวบรวมข้อมูลอุณหภูมิ ของสถานีตรวจวัดอากาศ 2 สถานี พบว่าแนวโน้มอุณหภูมิรายปีสูงขึ้น โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 0.02 องศาเซลเซียส/ปี และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 27.43 องศาเซลเซียส ซึ่งอุณหภูมิสูงสุด 27.96 องศาเซลเซียส ในปี พ.ศ. 2541 และอุณหภูมิปีต่ำสุด 26.96 องศาเซลเซียส ในปี พ.ศ. 2529 และเมื่อพิจารณาในรายเดือน พบว่ามีแนวโน้มอุณหภูมิรายเดือนสูงขึ้นในเดือนมกราคม, กุมภาพันธ์, มีนาคม, พฤษภาคม, มิถุนายน, กรกฎาคม, สิงหาคม, กันยายน, ตุลาคม, พฤศจิกายน และธันวาคม และมีแนวโน้มอุณหภูมิรายเดือนลดลงในเดือน และเมษายน ซึ่งค่าแนวโน้มอุณหภูมิรายเดือนอยู่ในช่วง -0.003 ถึง 0.048 องศาเซลเซียส/ปี โดยจากผลการวิจัยพบว่าลุ่มน้ำจันทบุรีมีความอ่อนไหวต่อการเกิดปรากฏการณ์เอล นิโญ และลานีญา เนื่องจากในปีที่เกิดปรากฏการณ์เอล นิโญในระดับรุนแรงจะส่งผลให้อุณหภูมิสูงสุดจะมีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ย และมีปริมาณน้ำฝนสะสมรายปีน้อยกว่าค่าเฉลี่ย และปีที่เกิดปรากฏการณ์ลานีญาจะมีอุณหภูมิสูงสุดจะมีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ย และมีปริมาณน้ำฝนสะสมรายปีสูงกว่าค่าปีเฉลี่ย โดยผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในลุ่มน้ำจันทบุรี ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และปริมาณน้ำฝนมีความสัมพันธ์กับอัตราการเจริญเติบโตของพืช พบว่าปัจจุบันนี้ พืชเศรษฐกิจของจังหวัดจันทบุรีเริ่มได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและปริมาณน้ำฝนที่ไม่ชัดเจนมากจนเข้าขั้นวิกฤต
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objective of this study is to find a relationship to analyze the trend in changing of temperature and rainfall by using the technique of linear regression model.Chanthaburi basin is chosen as the study area that having 2.46 million hectares of agricultural area. The water’s demand for agricultural activity is about 687.86 million cubic meters per year. The importantagriculturalproducts in this area are durian, mangosteen, longan, lychee, for example. The rainfall data of 7 stations is collected year by year for 30 years. It is found that the rainfall increases continuously at the rate of 31.22 million cubic meters per year with the average rainfall of 1,818.801 million cubic meters per year.The maximum rainfall data is found in the year of 2543 (BE) with the value of 2,541.717 million cubic meters while the minimum value of 971.862 million cubic meters is found in2543 (BE). By monthly consideration, it is found that the cumulativerainfall data tends to increase month by month during January to September then decreases during October to November, afterward increases at December once again before turned to the next year. The rainfall trend is located between -0.695 to 6.578 million cubic meters per year. Likewise the rainfall data, temperature data is collected from 2 stations. It is found that the temperature tends to increase about 0.02 degree Celsius per year with the average temperature of 27.43 degree Celsius. The highest temperature is 27.96 degree Celsius in the year of 2541 (BE) while the lowest temperature is found in the year of 2529 (BE) with 26.96 degree Celsius. By monthly consideration, it is found that the temperature tends to increase month by month except April. The temperature trend is located between -0.003 to 0.048 degree Celsius per year. The results indicate that the Chanthaburi basin is responsive to the El Niño and La Niña. Because the strong El Niño would be happened in the year that the highest temperature higher than the average temperature whereas the whole year cumulative rainfall lower is than the average value. On the other hand, La Niña would be occurred in the year that the highest temperature is higher than the average one whereas the whole year cumulative rainfall is higher than the average rainfall. Since changing in temperature and rainfall affect to the growth rate of agricultural product, then the important agricultural products of Chanthaburi are awfullystricken by the uncertainly change in temperature and rainfall.
คำสำคัญ
ปรากฏการณ์เอล นิโญ, ปรากฏการณ์เอล นิโญลานีญา, ผลผลิตทางการเกษตร
Keywords
Effects of El Niño and La Niña, Agricultural products
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-02-28 15:48:50
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย