Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
แบบจำลองเส้นทางการเดินรถขนส่งสาธารณะในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Mass Trasport Simulation in Rambhai Barni Rajabhat University
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์ปรัชภรณ์ เศรษฐเสถียร, อาจารย์กฤติยา เกิดผล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2559
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาระบบเส้นทางการเดินรถสาธารณะในมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี และสร้างแบบจําลองระบบการเดินรถสาธารณะในมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี พบว่า ปัญหาใน การเดินรถสาธารณะไม่มีจุดรับ–ส่งผู้โดยสารที่แน่นอน รถในการให้บริการไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของผู้ใช้บริการ เนื่องจากมีผู้ใช้บริการต้องรอคอยรถเป็นเวลานาน ระบบในการเดินรถขนส่งสาธารณะ พบว่า เดินรถเป็นเส้นทางเดียว มีตารางเวลาในการรับ-ส่งไม่แน่นอน และไม่มีป้ายจุดรับ - ส่ง ผู้ใช้บริการ ดังนั้นจึงทําการกําหนดป้ายจุดรับ - ส่งผู้โดยสารทั้งหมด 12 ป้าย และจัดทําแบบจําลอง เส้นทางการเดินรถขนส่งสาธารณะด้วยโปรแกรมอารีน่า จากวิเคราะห์เส้นทางในการเดินรถแบ่ง ออกเป็น 2 โมเดล ได้แก่ โมเดลที่ 1 วิธีการปล่อยรถขนส่งสาธารณะเพียงจุดเดียว และโมเดลที่ 2 วิธีการปล่อยรถขนส่งสาธารณะ 2 จุดพร้อมกัน พบว่า รูปแบบที่ 1 มีความเหมาะสมมากกว่า รูปแบบ ที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบจากค่าระยะทาง เวลา และจํานวนเฉลี่ยในการคอย
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to study mass transport route at Rambhai Barni Rajabhat University (RBRU) and establishes the model of mass transport route at the University. The study found that there were no bus stop signs and there was not enough mass transport to serve. In this case, they were fixed bus stop that divided into 12 bus stops and simulation models have been developed on Arena simulation that divided into 2 models. The first model was only one station which the transportation was released. The second model was two stations which the transportation was released from two stations. Finally, the result from simulations found that the first model was more proper than the second model which distance, time and average users waiting counts were compared.
คำสำคัญ
รถขนส่งสาธารณะ
Keywords
Mass Trasport
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-02-27 11:20:05
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก