Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาจักรยานปั่นร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าแบบพึ่งพาตนเอง ในพื้นที่โรงเรียนอนุบาลเกาะกูด จังหวัดตราด
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Development of Solar Energy Bike for Electric Generator by Self Reliance in Anubankohkood School, Trat Province
ชื่อผู้แต่ง
ศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล , กฤษณะ จันทสิทธิ์ , คมสัน มุ่ยสี , นิกร ผงทอง
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ในการทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาจักรยานปั่นร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าแบบพึ่งพาตนเองภายในโรงเรียนอนุบาลเกาะกูด ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้ ต่อการนำไปใช้งาน และบูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอนของโรงเรียน ในงานวิจัยได้พัฒนาจักรยาน 3 ล้อ ขนาดความกว้าง 64 เซนติเมตร ยาว 180 เซนติเมตร และสูง 80 เซนติเมตร ติดตั้งชุดมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Dc Motor) มีขนาด 350 วัตต์ จำนวน 4 ตัว รวมจำนวน 1,400 วัตต์ ชุดระบบพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ขนาด 300 วัตต์ จำนวน 2 แผง ชาร์จประจุไฟฟ้าลงแบตเตอร์รี่ขนาด 24 โวลต์ 150 แอมแปร์ หลังติดตั้งจักรยานปั่นกระแสไฟฟ้าร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ ทดสอบผลิตกระแสไฟฟ้าในเวลา 1 ชั่วโมง ปั่นจักรยานด้วยความเร็วคงที่ 15-20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้โดยเฉลี่ยร้อยละ 3 ของความจุแบตเตอรี่ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากแผงโซล่าเซลล์มีอัตรากระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และกระแสไฟฟ้าที่ได้จากการจักรยานปั่นร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 ประสิทธิภาพในการเก็บกระแสไฟฟ้าเมื่อใช้ทั้ง 2 ระบบทำงานร่วมกันดีกว่าการปั่นจักรยาน หรือพลังงานแสงอาทิตย์เพียงอย่างเดียวร้อยละ 66.67 และสามารถเก็บกระแสไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่ภายใน 10 ชั่วโมง หลังบูรณการการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 ของโรงเรียนอนุบาลเกาะกูด ร่วมกับนักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณาจารย์ และผู้ที่สนใจทั่วไปรวมจำนวน 113 คน ทำแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ พบว่า ความพึงพอใจด้านความรู้ความเข้าใจ มีระดับความพึงพอใจเป็นอันดับ 1 จำนวน 2 ข้อ คือ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีด้านพลังงานไฟฟ้า และความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม และฝึกปฏิบัติค่าเฉลี่ย (Mean) 4.65 คิดเป็นร้อยละ 93.00 ด้านความพึงพอใจมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความพึงพอใจต่อความรู้ความสามารถที่ถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรค่าเฉลี่ย (Mean) 4.78 คิดเป็นร้อยละ 95.60 ด้านการนำความรู้ไปใช้ มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดคือ สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาเพิ่มศักยภาพด้านพลังงานไฟฟ้าผลิตกระแสไฟฟ้าไว้ใช้เอง ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.77 คิดเป็นร้อยละ 95.40 และอยากทราบพลังงานทดแทนในรูปแบบใหม่เพิ่มเติม
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to develop the solar energy bike for electric generator for use in Anubankohkood school, Trat province and compare the performance of electricity production. The 64 cm width, 180 cm length and 80 cm height of bike 3 wheels was installed with 1,400 watts (350 watts x 4 panel of DC motor) and 600 watts (300 watts x 2 panel) of solar cell has kept electrical current into the 24 volte 150 amperes battery. The production of electricity has been tested in 1 hour, cycling with a steady 15-20 kilometers per hour generates electricity by an average of 3 % of battery capacity. The electricity has been produced from the solar panel up to 5 % of battery capacity and solar energy bike with up to 7 % of battery capacity. The electricity storage from using the two systems working together has 66.67 % of efficiency higher than using only cycling or solar energy alone and it could store electricity in batteries within 10 hours. After the integration of teaching and learning science about the electric generator with the students Prathom 1-6 of Anubankohkood School, the bachelor’s degree student of Industrial Technology Faculty and the people who were interested in activity, total of 113 samples answered the satisfaction 5-rating scale questionnaire. The result showed that, the knowledge aspect, the understanding about the theory of electrical energy and the knowledge after training and practicing was the highest 4.65 (93.00 %) ; the satisfaction aspect, the satisfaction of the expertise’s lecture was the highest 4.78 (95.60 %) and ; the knowledge of using aspect, the knowledge of increasing the electrical potential use was the highest 4.77 (95.40 %) with renewable sources of energy.
คำสำคัญ
จักรยาน พลังงานแสงอาทิตย์ กระแสไฟฟ้า การพึ่งพาตนเอง
Keywords
Bike, Solar Energy, Electric Current, Self-Reliance
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-01-27 14:09:47
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย