Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลการศึกษา
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Automatic Mobile Control Robot for the Educational Public
ชื่อผู้แต่ง
คมสัน มุ่ยสี , กฤษณะ จันทสิทธิ์ , ศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
เทคโนโลยีของหุ่นยนต์เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และมีบทบาทสำคัญกับชีวิตมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ และด้านการศึกษา นอกจากนั้นหุ่นยนต์ยังถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องเล่นของมนุษย์ ในปัจจุบันหุ่นยนต์ได้รับการพัฒนาจนมีลักษณะคล้ายมนุษย์เพื่อให้อยู่ร่วมกับมนุษย์ในชีวิตประจำวันได้ งานวิจัยนี้มีแนวคิดที่จะสร้างรูปแบบใหม่ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลทางการศึกษาโดยใช้หุ่นยนต์แทนมนุษย์ หุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นโดยใช้ระบบควบคุมกึ่งอัตโนมัติ รับสัญญาณอินพุทจาก IR TRACK SENSOR ในการควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ ประมวลผลโดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ชนิด AVR เพื่อควบคุมการเคลื่อนที่ของมอเตอร์กระแสตรง จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงสุด 10 เมตรต่อนาที ใช้งานได้ 10.48 ชั่วโมงต่อการประจุพลังงาน 1 ครั้ง และค่าความผิดพลาดในการเคลื่อนที่ออกนอกเส้นทางที่กำหนด 10% ผลประเมินความพึงพอใจในการใช้หุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์โดยใช้นักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มีค่าเฉลี่ย 3.80 คะแนน จาก 5.00 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ดี
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Technology of the robot is rapid growth and plays a vital role in human life that in many sides such as industry, medical profession and education. In addition, the robots were created for the human player. Nowadays, the robots were developed until similar to the human for living with human in daily life. This project had concept to create the new way to public relation of the education information by using the robot substitute the human. The robot was built by using the semi- automatic controller, received the input signal from IR TRACK SENSOR to control the movement direction. Data was processed by using micro-controller AVR Type for control the movement of DC motor. The results indicated that the information robot moved with highest speed at 10 m/min, working hour equal to 10.48 h/an energy charge and the error of movement out of the set ways was 10%. The satisfaction evaluation to use the robot of the students at Rambhai Barni Rajabhat University found at 3.80 scores out of 5.00 scores that was a good criterion.
คำสำคัญ
ระบบควบคุมอัตโนมัติ , หุ่นยนต์ , ประชาสัมพันธ์
Keywords
Automatic control system, Robotic, Public relations
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-01-29 13:51:35
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก