Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การสร้างเตาเผาถ่าน เพื่อผลิตถ่านสวยงามจากของเสียภาคเกษตรกรรม สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าศาลา อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Fabrication of Kiln to Produce Ornamental Charcoal from Agricultural Wastes for Baan Tha Sala Community Enterprises, Thamai District, Chanthaburi Province.
ชื่อผู้แต่ง
กฤษณะ จันทสิทธิ์ , คมสัน มุ่ยสี และ ศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้เป็นการจัดสร้างเตาเผาถ่านเพื่อผลิตถ่านสวยงามจากของเสียภาคเกษตรกรรม สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านท่าศาลา อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการแปรสภาพผลมังคุดที่ไม่สามารถนำไปจำหน่ายได้ ให้กลายเป็นถ่านสวยงามที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกครั้งหนึ่ง จากผลการศึกษาพบว่า เตาเผาถ่านที่จัดสร้างขึ้นสามารถแปรสภาพผลมังคุดให้กลายเป็นถ่านสวยงามได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเตาเผาถ่านจะมีลักษณะเป็นถัง 3 ชั้น ถังชั้นนอกมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 26 นิ้ว มีความสูง36 นิ้ว ถังชั้นกลางมีขนาด 23 นิ้ว มีความสูง 35 นิ้ว ถังชั้นในมีขนาด 16 นิ้ว มีความสูง 17 นิ้ว และมีปล่องควันขนาด 4 นิ้ว มีความสูง 30 นิ้ว ระหว่างถังชั้นนอกกับถังชั้นกลางทำการบุฉนวนกันความร้อน พร้อมกับเจาะรูโดยรอบถังทั้งสองทั้งด้านบนและด้านล่าง เพื่อนำอากาศเข้าห้องเชื้อเพลิง ทางด้านก้นถังติดตั้งล้อเหล็กจำนวน 3 ล้อ พร้อมติดตั้งมือจับสำหรับเข็นบริเวณด้านข้างของถัง ในการเผาถ่านจะเผาจากด้านบนลงสู่ด้านล่าง โดยถังชั้นในเป็นถังบรรจุวัตถุดิบและจะเจาะรูที่ก้นถังไว้ด้วย ระหว่างถังชั้นในกับถังชั้นกลางจะเป็นห้องเชื้อเพลิงสำหรับใส่ไม้ฟืนให้เต็มขึ้นมาถึงปากถัง เพื่อใช้เป็นจุดก่อไฟให้เริ่มเผาไหม้ พร้อมกับทำการปิดฝาเตาและปล่องควัน ซึ่งจะใช้เวลาในการเผาไหม้ให้เป็นถ่านประมาณ 4-5 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิประมาณ 600-800 องศาเซลเซียส และต้องรอให้เตาเย็นตัวสนิทก่อน จึงจะนำถ่านออกมาใช้งานได้ซึ่งถ่านที่ได้จะมีลักษณะที่สวยงาม และมีค่าไอโอดีนนัมเบอร์เท่ากับ 199 มิลลิกรัมต่อกรัม
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This research aimed to fabricate the charcoal kiln for producing ornamental charcoal from agricultural waste for Baan-Ta-Sara community enterprise at Thamai district, Chanthaburi Province. The kiln was used to process the unsellable mangosteens fruits into ornamental charcoal. The results found that the kiln could be used to process mangosteens into the ornamental charcoal effectively. The kiln consisted of a three-layer tank. The outer layer was 26 inches in diameter, and 36 inches in height. The middle layer was 23 inches in diameter and 35 inches in height. The inner layer was 16 inches in diameter and 17 inches in height. The chimney with the size of 4 inches in diameter and 30 inches in height was attached to the tank. The insulation was installed between the outer layer and the middle layer. Holes were punched all around the tank to allow the air to flow into the firing chamber. Three steel wheels were installed at the bottom of tank and a handle was installed on the sides of the tank. Charcoal production would be conducted by burning the contents from the top to the bottom. The inner tank would be filled with the materials to be burnt, and its bottom was drilled. Wood and kindling were filled in between the inner tank and middle tank. These would be used as fuel for burning. Then the kiln and the chimney must be covered. It would take about 4-5 hours under the temperature of 600-800C . After the kiln cooled down, the ornamental charcoal was ready to be used. and IOD number 199 mg/g.
คำสำคัญ
เตาเผาถ่าน,ถ่านไม้, ถ่านไบโอชาร์, ถ่านกัมมันต์
Keywords
Charcoal kiln, Charcoal, Bio char, Activated Carbon
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-09-30 15:49:49
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก