Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การวิเคราะห์กระบวนการผลิตแผ่นยางพารา กรณีศึกษา: สวนหลวงราชไมตรี อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Analysis of Rubber Latex of Production Process: Case Study Suan Luang Rajamaitri, Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
ปรัชภรณ์ เศรษฐเสถียร , กฤติยา เกิดผล และ พงศธร จันทร์ตรี
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2562
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตแผ่นยางพารา วิเคราะห์และเสนอเป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตให้กับบริษัท สวนหลวงราชไมตรี อาเออเมือง จังหวัดจันทบุรี ซึ่งจากการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลของกระบวนการผลิตแผ่นยางพารา ด้วยแผนอูมิกระบวนการผลิต (Production Process Charts) ทาให้ทราบว่ามีขั้นตอนในการทางานทั้งหมด 44 ขั้นตอน ซึ่งสามารถแบ่งขั้นตอนการทางานได้เป็น 4 ขั้นตอนหลัก จึงนาข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์การวางผังของบริษัท ด้วยแผนอูมิกระบวนการไหล (Flow Process Chart) กับแผนอาพการไหล (Flow Diagram) เพื่อให้ทราบระยะทาง เวลา และกระบวนการไหลของกระบวนการผลิตแผ่นยางพารา จากนั้นนาหลักการคานวณหา Takt Time มาใช้ในการกาหนดเวลา Takt Time เพื่อนาเวลาดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับเวลาในการทางานของแต่ละขั้นตอน พบว่ามี 8 ขั้นตอนย่อย ที่ใช้เวลาในการทางานเกินเวลา Takt Time ทาให้กระบวนการผลิตแผ่นยางพาราเกิดปัญหาความล่าช้า ดังนั้นผู้วิจัยจึงนาปัญหาดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง ด้วยแผนผังก้างปลา (Cause and Effect Diagram) และพบว่ามี 5 สาเหตุที่ส่งผลทาให้กระบวนการผลิตมีความล่าช้า ได้แก่ ความเมื่อยล้า การรอคอย ระยะทางไกล อุปกรณ์ไม่เหมาะสมกับงาน และแสงสว่างไม่เพียงพอ จึงนาหลักการ ECRS มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนการผลิตแผ่นยางพารา โดยเสนอให้บริษัททาการเปลี่ยนอุปกรณ์ในการทางานและปรับเปลี่ยนตาแหน่งการวางผังใหม่ในขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 4 เพื่อลดเวลาในการทางานและลดระยะทางในการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
A purpose of this research is to study and improve the production in order to be guidelines for the improvement of the rubber sheet production for Suan Luang Ratchamaitri, Muang district, Chanthaburi. The study, based on the data-collection of the rubber sheet production process using the Production Process Chart, found that there are 44 steps, which can be distinguished into 4 main steps.Besides, the data is analysed by using the Flow Process Charts along with the Flow Diagram in order to ensure that distance, Leadtime and the flow process are recognised. Furthermore, the use of Takt Time Calculation indicates 8 factors that cause the delay in the rubber sheet production process. These causes of delay in the production process have now been further analysed by using a Cause and Effect Diagram to find a real factor of the cause. Moreover, five factors have been found causing the delay in the production process, which are exhaustion, waiting time, remoted distance, inappropriate equipment and insufficient lighting. In addition, the study has brought the principle of ECRS to improve the rubber sheet production, by putting on appropriate equipment and change position of the plant layout for step 2 and 4, in order to reduce the time of working and reduce distance of moving raw materials.
คำสำคัญ
กระบวนการผลิตแผ่นยางพารา, แผนอาพกระบวนการไหล, การปรับปรุงกระบวนการผลิต
Keywords
Rubber sheet production processing, Flow Process Chart, The Improvement of rubber sheet production.
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 11:42:36
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก