Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะนิติศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การรับรู้สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา ของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Perception of people in Mueang Chanthaburi District, Chanthaburi Province, regarding to the Rights of Injured Person in Criminal Case
ชื่อผู้แต่ง
อาจารย์ปาจรีย์ สิงห์สุวรรณ,อาจารย์กุลปราณี ศรีใย,อาจารย์อดิศร กุลวิทิต
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะนิติศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2557
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญาของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เพื่อให้ทราบถึงปัญหาในการรับรู้ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดการรับรู้สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญาอันจะทำให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนและเกิดประสิทธิภาพต่อมาตรฐานของกระบวนการยุติธรรมทางอาญามากยิ่งขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและรวบรวมข้อมูลนำเสนอในรูปของความเรียงในตาราง ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาการรับรู้สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญาของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี โดยภาพรวมพบว่า ระดับการรับรู้ที่มากที่สุดได้แก่ ระดับพอใช้ และ ระดับปานกลาง เท่ากัน ประชาชนส่วนน้อยมีความรู้อยู่ในระดับดี และไม่พบว่ามีประชาชนกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ในระดับดีมากเลย เมื่อจำแนกการรับรู้สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญาออกเป็น 6 ด้าน พบว่าประชาชนกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้เกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญาในภาพรวมทั้ง 6 ด้าน ด้านที่มีผู้รับรู้มากที่สุดได้แก่การฟ้องคดีและการเข้าร่วมเป็นโจทก์ในคดีอาญา ถัดมาเป็นการร้องทุกข์ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเป็นผู้เสียหายในคดีอาญา การถอนฟ้องและการยอมความ การอุทธรณ์ และด้านที่มีการรับรู้น้อยที่สุดได้แก่การฎีกา
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this research were to study the perception of people in Mueang Chanthaburi District, Chanthaburi Province, regarding to the rights of injured person in criminal case, to acknowledge the problems of perception, along with to search for the means to solve the problems in order to bring about such perception to people and to cause effectiveness to criminal justice system. The research samples consisted of 100 of people who habitat in Mueang Chanthaburi District, Chanthaburi Province. The research instrument used in this study was a questionnaire. The statistics used to analyze the data was percentage by using the statistical package from a computer program. Recommendations were gathered from the descriptive tables. The result of the study were that the overall result of perception of people in Mueang Chanthaburi District, Chanthaburi Province was fair and average. Minority of people was at the good level. The best level was not found. The perception of rights of injured persons in criminal case were classified into 6 aspects, the studies found that the highest level of perception was prosecution of criminal cases and association with the prosecutor. The next was lodging a complaint, general acknowledgement of being injured person in criminal case, withdrawing a criminal charge and compounding a compoundable offence, appealing and the least perception was deeka.
คำสำคัญ
ผู้เสียหาย, สิทธิของผู้เสียหาย, คดีอาญา
Keywords
Injured person, Rights of injured person, Criminal cases
เพิ่มข้อมูลโดย
เจียมจิต บวชไธสง
แก้ไขล่าสุด
2020-03-18 13:43:22
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก