Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะนิเทศศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
กลยุทธ์การสื่อสารภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตรของปราชญ์ชาวบ้านจังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Communication Strategies on local wisdom for Increase Performance Agricultural Products of Chantaburi Intellectuals
ชื่อผู้แต่ง
วิฆเนศวร ทะกอง , สุทธินันท์ โสตวิถี และ มารุตพงศ์ เจริญขวัญ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะนิเทศศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2560
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การสื่อสารภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรของปราชญ์ชาวบ้านจังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะและบทบาทของปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตรในจังหวัดจันทบุรี (2) เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารในการเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรของปราชญ์ชาวบ้านจังหวัดจันทบุรีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) กลุ่มประชากรในการวิจัยคือ ปราชญ์ชาวบ้านที่ประสบความสำเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรในจังหวัดจันทบุรี ผลการวิจัยพบว่า ปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตรในจังหวัดจันทบุรีมีบทบาทในการเป็นผู้นำแห่งความคิด เป็นผู้นำแห่งองค์ความรู้และวิเคราะห์ปัญหาชุมชนของตนเองได้ เป็นผู้ริเริ่มการเกษตรคุณภาพ สร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การติดต่อสื่อสารกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกบทบาทในฐานะผู้ให้ความช่วยเหลือ เป็นแบบอย่างที่ดีของคนในชุมชน นอกจากนั้นยังมีการการเปิดรับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ แสวงหาความรู้จากหลากหลายช่องทาง เป็นผู้จัดกิจกรรมและสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนา และมีการใช้หลักการแก้ไขปัญหาเพื่อความอยู่รอดของชุมชน ส่วนกลยุทธ์การสื่อสารในการเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของปราชญ์ มีการใช้รูปแบบการสื่อสารระหว่างบุคคลเป็นหลัก มีการวางแผนก่อนทำการสื่อสารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพทางด้านการสื่อสาร มีการวิเคราะห์ถึงระดับการรับรู้ของผู้รับสาร นอกจากนั้นยังมีการสื่อสารโดยเปิดให้สมาชิกในกลุ่มเข้ามีส่วนร่วมในการสื่อสาร ปราชญ์มีการจัดการองค์ความรู้ก่อนนำมาถ่ายทอด โดยพิจารณาในเรื่องคุณภาพเนื้อหาว่ามีความสำคัญหรือมีประโยชน์ต่อผู้รับสารมากน้อยเพียงใด จะสร้างสารอย่างไรที่ตรงกับความสนใจของผู้รับสาร ส่วนการบูรณาการในการใช้สื่อใหม่ พบว่าเริ่มมีการใช้สื่อออนไลน์ที่เป็น Application Line และ Facebook ในการติดต่อสื่อสาร ถ่ายทอดข้อมูลและสร้างเครือข่ายการสื่อสารในระดับที่กว้างขึ้นด้วย
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Research The Communication Strategies on local wisdom for Increase Performance Agricultural Products of ChantaburiIntellectuals. The purpose is (1) to study the characteristics and roles of the Performance Agricultural Products of Chantaburi Intellectuals (2) to study the communication strategies ofagricultural products knowledge publish for ChantaburiIntellectualsThis researchusing in-depth interviews. The intellectuals who succeeded in increasing of agricultural products in Chanthaburi province The research found that The Intellectuals in Chanthaburi have a role as a leader of ideas. Can be a leader of knowledge and analyze their own community problems. They are a quality agricultural innovator create participation of people in the community. Communicating with insider and outsider. Role as a helpers Is a good model of people in the community, there is a new knowledge and technology exposure. Seeking knowledge from various channels be the organizer of activities. And the use of principles to solve problems for community survival The communication strategy for Intellectuals. There are primarily forms of interpersonal communication. There is a plan before communicating forefficiency communication. There is an analysis of the level of recognition of reciever. In addition, communication by allowing group to participate in communication sage has knowledge management before being transferred and considering the quality of the content as for the integration of new media use found that the use of online media is application Line and Facebook to communicate transfer information and create a wider communication network.
คำสำคัญ
กลยุทธ์การสื่อสาร, ปราชญ์ชาวบ้าน
Keywords
Communication Strategies, intellectuals
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-04-28 13:11:09
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก