Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
126
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
35
คณะนิเทศศาสตร์
1
คณะพยาบาลศาสตร์
87
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
28
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
59
คณะวิทยาการจัดการ
116
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
100
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
136
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
24
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การเตรียมและสมบัติของเชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่งจากเศษวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้งใน กระบวนการผลิตยาสมุนไพร
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Preparation and Properties of Biomass Briquettes from Organic Waste Residues in Herbal Medicine Production
ชื่อผู้แต่ง
วิทวัส สิงห์สังข์, เบญจมาศ เนติวรรักษา, อนุรักษ์ รอดบำรุง, กานต์ นัครวรายุทธ, พอพันธ์ สุทธิวัฒนะ และรพีพงศ์ เปี่ยมสุวรรณ
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2563
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
ในทุก ๆ ปีจะมีเศษสมุนไพรเหลือทิ้งมากกว่า 6,000 กิโลกรัมที่เกิดขึ้นในการผลิตยาเพื่อรักษาผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงินของศูนย์รักษาโรคสะเก็ดเงิน เทศบาลเมืองท่าช้าง จังหวัดจันทบุรี ก่อให้เกิดปัญหาด้านการจัดการของเสีย ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมีแนวคิดในการนำเศษสมุนไพรเหลือทิ้งมาใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงชีวมวล โดยชนิดของตัวประสานและอัตราส่วนผสมของวัสดุชีวมวลและ ตัวประสานจะได้รับการศึกษา น้ำแป้งมันสำปะหลังและกากน้ำตาลซึ่งเป็นตัวประสานที่ถูกเลือกใช้ในงานวิจัยนี้ จะถูกผสมกับวัสดุชีวมวลจากเศษสมุนไพรในอัตราส่วน 1:1 1:1.5 1:2 1:2.5 และ 1:3 โดยน้ำหนัก หลังจากการขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์และทำแห้งแล้ว ตัวอย่างเชื้อเพลิงชีวมวลจะถูกวิเคราะห์หาค่าความร้อน ปริมาณความชื้น และประสิทธิภาพการใช้งานเชื้อเพลิง ผลวิจัยพบว่าเชื้อเพลิงชีวมวลที่ใช้น้ำแป้งมันสำปะหลังเป็นตัวประสานจะให้ค่าความร้อนและประสิทธิภาพการใช้งานที่สูงกว่ากรณีใช้กากน้ำตาล นอกจากนี้ ที่อัตราส่วนวัสดุชีวมวลต่อน้ำแป้งมันสำปะหลังเท่ากับ 1:3 จะให้ค่าประสิทธิภาพการใช้งานสูงถึงร้อยละ 28.90 และมีปริมาณความชื้นอยู่ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนของผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งด้วย
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
Annually, 6,000 kilograms of leftover herbs in pharmaceutical manufacturing process for psoriasis treatments have been wasted at the Center for Psoriasis Treatment in Tha Chang Town Municipality in Chanthaburi Province. This causes waste management problems. Therefore, the research concept is to apply the leftover herbs in biomass. Types of binders and their ratios of biomass and binders were studied in this research. Starch solutions and molasses were mixed with herbal waste – based biomass in the ratio of 1:1, 1:1.5, 1:2, 1:2.5, and 1:3 by weight. After molding and drying, the biomass samples were investigated to determine the heat value, moisture contents, and fuel efficiency. The results showed that the biomass with starch as the binder provided the higher heat value and fuel efficiency than the one with molasses as the binder. Furthermore, the ratio of biomass to starch solutions was 1:3, it provided high efficiency of 28.90%, and its moisture content hit the standard mark of the community product: charcoal briquettes.
คำสำคัญ
เชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่ง, เศษวัสดุอินทรีย์เหลือทิ้ง, พลังงานทางเลือก
Keywords
biomass briquettes, organic waste residues, renewable energy
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2021-11-02 13:38:18
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย