Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
ดีเอ็นเอบาร์โค้ด เพื่อการจำแนกชนิดปลาในแม่น้ำจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
DNA Barcoding for Identification of Fish Species from Chanthaburi River, Chanthaburi Province
ชื่อผู้แต่ง
วิรังรอง กรินท์ธัญญกิจ และ ชุตาภา คุณสุข
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยนี้ทำการศึกษารูปแบบลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีนไซโตโครม ออกซิเดส วัน (COI) เพื่อใช้เป็นดีเอ็นเอบาร์โค้ด ในการจำแนกชนิดปลาในแม่น้ำจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จากตัวอย่างปลาจำนวนทั้งสิ้น 26 ชนิด พบว่าสามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในส่วนของยีน COI โดยเทคนิค PCR และได้ข้อมูลลำดับนิวคลีโอไทด์จำนวน 15 ชนิด โดยมีความยาวของลำดับนิวคลีโอไทด์อยู่ในช่วง 643-790 คู่เบส เมื่อเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์ของปลาทั้ง 15 ตัวอย่าง กับฐานข้อมูลพันธุกรรม GenBank และ BOLD พบว่าทุกตัวอย่างมีค่าความคล้ายคลึงทางพันธุกรรมสูงถึง 98-100% โดยมี 14 ตัวอย่าง ที่ให้ผลสอดคล้องกันทั้ง 2 ฐานข้อมูล ส่วนอีก 1 ตัวอย่าง คือ ปลาเข็มหม้อให้ผลไม่สอดคล้องกัน โดยระบุชนิดเป็น Dermogenys siamensis และ D. pusilla ในฐานข้อมูล GenBank และ BOLDaโดยมีค่าความคล้ายคลึงทางพันธุกรรมเท่ากับ a99%aและa98%aตามลำดับทั้งนี้เป็นเพราะว่าลำดับ นิวคลีโอไทด์ของยีน COI สำหรับ D. siamensis ยังไม่มีรายงานในฐานข้อมูล BOLD ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ได้รวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูลดีเอ็นเอบาร์โค้ดของปลาในจังหวัดจันทบุรีต่อไป
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
This study aimed to determine the pattern of Cytochrome oxidase I (COI) sequences for using as DNA barcode to identify fish species from Chanthaburi River, Chanthaburi Province. From a total of 26 collected species, 15 species were successfully PCR amplified and sequenced. The COI sequences of these species ranged from 643 to 790 base pairs. Then, the identity of these sequences was determined by comparing with GenBank and BOLD genetic database. The results found that all species had the high genetic similarity (98-100%) in both databases and the corresponding result for both databases was found for 14 fish species. The similarity search was provided that there was only one species (Dermogenys siamensis) not reported in BOLD database.aThe results from this study were collected in database containing DNA barcodes for all fish in Chanthaburi Province.
คำสำคัญ
ดีเอ็นเอบาร์โค้ด, ยีนไซโตโครม ออกซิเดส วัน, การจำแนกชนิดปลา, แม่น้ำจันทบุรี
Keywords
DNA barcoding, Cytochrome oxidase I gene, Fish species identification, Chanthaburi River
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-09-30 16:16:13
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก