ระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ { RBRU E-Research }

รายการข้อมูลงานวิจัย

รายการข้อมูลงานวิจัย

ระบบตรวจสอบเรือประมงด้วยความเป็นจริงเสริม : กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษอ่าวตราด
A Fishing Vessel Checking System Using Augmented Reality: A Case Study of Special Economic Zone Ao Trat
วิระ ศรีมาลา และ คัมภีร์ ธีระเวช
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
งานวิจัย
2559
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาระบบความเป็นจริงเสริมสำาหรับการติดตาม ตำาแหน่งเรือประมง ระบบที่พัฒนาแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนแรกคือส่วนการติดตามตำาแหน่งเรือประมงและส่วนที่สองคือส่วนของการแสดงข้อมูลแบบความเป็นจริงเสริม โดยระบบส่วนแรกนั้นเป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยภาษจาวาเพื่อส่งพิกัดที่เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสในสมาร์ทโฟนกลับไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรแกรมที่เครื่องให้บริการนั้นพัฒนาด้วยภาษาพีเอชพีและจาวาสคริปต์ สำหรับระบบส่วนที่สองพัฒนาด้วยภาษาจาวาเป็นโปรแกรมที่ทำางานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ที่นำภาพจากกล้องด้านหลังของสมาร์ทโฟนมาซ้อนทับด้วยภาพของตำาแหน่งเรือที่อ่านค่ามาได้จากเครื่องให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้วิจัยพบว่าข้อจำกัดประการหนึ่งในการใช้สัญญาณอินเทอร์เน็ตเมื่อออกห่างจากชายฝั่งเนื่องมาจากข้อจำากัดของสัญญาณจากเสาสัญญาณโทรศัพท์ อย่างไรก็ตามผลการศึกษาพบว่าระบบในภาพรวมนั้นสามารถรับส่งข้อมูลและแสดงผลได้ตามความต้องการ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาระบบความเป็นจริงเสริมสำหรับการติดตาม ตำแหน่งเรือประมง ระบบที่พัฒนาแบ่งได้เป็นสองส่วน ส่วนแรกคือส่วนการติดตามตำแหน่งเรือประมงและส่วนที่สองคือส่วนของการแสดงข้อมูลแบบความเป็นจริงเสริม โดยระบบส่วนแรกนั้นเป็นการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยภาษจาวาเพื่อส่งพิกัดที่เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสในสมาร์ทโฟนกลับไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ให้บริการผ่านระบบเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และอินเทอร์เน็ต ซึ่งโปรแกรมที่เครื่องให้บริการนั้นพัฒนาด้วยภาษาพีเอชพีและจาวาสคริปต์ สำหรับระบบส่วนที่สองพัฒนาด้วยภาษาจาวาเป็นโปรแกรมที่ทำางานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ที่นำภาพจากกล้องด้านหลังของสมาร์ทโฟนมาซ้อนทับด้วยภาพของตำาแหน่งเรือที่อ่านค่ามาได้จากเครื่องให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้วิจัยพบว่าข้อจำกัดประการหนึ่งในการใช้สัญญาณอินเทอร์เน็ตเมื่อออกห่างจากชายฝั่งเนื่องมาจากข้อจำกัดของสัญญาณจากเสาสัญญาณโทรศัพท์ อย่างไรก็ตามผลการศึกษาพบว่าระบบในภาพรวมนั้นสามารถรับส่งข้อมูลและแสดงผลได้ตามความต้องการ
using smartphone and the augmented reality technology. The system had two prinicpal components. The first component ran on a smartphone with the Android operating system. This component read position of the fishing vessel from GPS receiver on a smartphone and sent the position to a remote server using the GPRS and GSM services. The second component was an augmented reality system that worked on an Android smartphone. This component computed user’s position and orientation by fusing data from GPS receiver and accelerometer. We found that one limitiation of using GSM service was the communication distance between the fishing vessel in the sea and the cell towers. However, the result showed that the overall system worked as expected.
ความจริงเสริม, ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, จีพีเอส
augmented reality, geographic information systems, GPS
ณัฐฐานี ดีซื่อ แก้ไขล่าสุด 2020-10-01 11:23:00