Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องบทบาทชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
The Workshop Training Curriculum Development and The Role of Chong People in King Taksin as Basic Data in the Curriculum Development at The Education School Level
ชื่อผู้แต่ง
วิวัฒน์ เพชรศรี , ธีรพงษ์ จันเปรียง
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับบทบาทของชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินในการนำมาใช้จัดการเรียนการสอนและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องบทบาทของชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีขั้นตอนการวิจัย 4 ขั้นตอน คือขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องบทบาทของชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขั้นตอนที่ 2 การสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง บทบาทของชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขั้นตอนที่ 3 การนำหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง บทบาทของชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินไปทดลองใช้ และขั้นตอนที่ 4 การประเมินคุณภาพหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง บทบาทของชาวชองที่มีต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในขั้นตอนที่ 1 ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และปราชญ์ท้องถิ่น จำนวน 30 คน ขั้นตอนที่ 3 ได้แก่ผู้บริหารและครูผู้สอน จากอำเภอคิชฌกูฏ จำนวน 105 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย1) หลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เชี่ยวชาญในพื้นที่มีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับชาวชองภาพรวมในระดับมาก โดยมีประเด็นที่เห็นมากที่สุดคือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีคุณต่อชาวจันทบุรีและประเทศไทย 2) ผลการประเมินความเหมาะสมของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อหลักสูตรและคู่มือฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและมีความสอดคล้อง 3) ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการมีความรู้หลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ4) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการมีความพึงพอใจในระดับมาก
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The purposes of this research were; 1) to study the basic information about the roles of the people in the Kingdom of Taksin in teaching and learning development and curriculum development. ;2) develop a training course on the role of the people with King Taksin the Great to provide basic information for the development of school curriculum. There are 4 steps of the research process: Step 1 Study of basic information on the development of the training course on the role of the people with King Taksin. Step 2 Creating a workshop course for the role of the people with King Taksin the Great. Step 3 Implementing the workshop course the role of the people in the trials of King Taksin. And step 4 quality assessment of the workshop course the role of the people with King Taksin the Great. The sample group used in the research in step 1 was 30 village chiefs, local villagers and local sages. Step 3: Executives and teachers From Kitchakut District, 105 people. The tools used include: 1) curriculum and workshop training manual 2) achievement test, workshop training and 3) satisfaction satisfaction questionnaire for the workshop. The results of the research were as follows: 1) It was found that experts in the area had knowledge and experience about the overall picture at a high level. With the most controversial issues King Taksin the Great has continued with the people of Chanthaburi and Thailand. 2) The results of the assessment of the suitability of experts towards the curriculum and the workshop manual in the overall picture are at the highest level and are consistent. 3) The participants in the workshop had higher knowledge after the training than before the training at the statistical significance level of .01 and 4) the workshop trainees were satisfied at a high level.
คำสำคัญ
หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ, บทบาทชาวชอง, สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Keywords
The Workshop Training Curriculum Development, The role of Chong people, King Taksin
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-01-29 10:43:22
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก