Toggle navigation
หน้าหลัก
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามหน่วยงาน
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
คณะนิติศาสตร์
คณะนิเทศศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบันวิจัยและพัฒนา
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักศิลปวัฒนธรรม
งานวิจัยตามปี พ.ศ.
แบ่งตามปี พ.ศ.
พ.ศ. 2567
พ.ศ. 2566
พ.ศ. 2565
พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2563
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2561
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2556
พ.ศ. 2555
พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2547
พ.ศ. 2546
พ.ศ. 2545
สถิติงานวิจัย
ประเภทของสถิติ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนต่าง ๆ
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอก
สถิติงบประมาณสนับสนุนการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
สถิติจำนวนโครงการวิจัยแบ่งตามหน่วยงาน
คณะทำงาน
ผู้ดูแลระบบ
Administrator
เข้าสู่ระบบ
หน้าหลัก
คณะครุศาสตร์
รายระเอียดการวิจัย
เมนูหลัก
หน้าหลัก
สาขางานวิจัยทั้งหมด
ประวัตินักวิจัย
ค้นหางานวิจัย
งานวิจัยตามคณะ
139
คณะครุศาสตร์
27
คณะนิติศาสตร์
36
คณะนิเทศศาสตร์
2
คณะพยาบาลศาสตร์
89
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์
30
คณะวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
67
คณะวิทยาการจัดการ
130
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
16
คณะอัญมณีศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
107
คณะเทคโนโลยีการเกษตร
159
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
27
สถาบันวิจัยและพัฒนา
1
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
3
สำนักศิลปวัฒนธรรม
รายการข้อมูลงานวิจัย
รายการข้อมูลงานวิจัย
ชื่องานวิจัย (ภาษาไทย)
แนวทางการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทาง สังคมของผู้สูงอายุในตำบลห้วงน้ำขาว จังหวัดตราด
ชื่องานวิจัย (ภาษาอังกฤษ)
Guidelines to Improve Quality of Life Psychological Domain and Social Relationship Domain of the Elderly in Huangnamkhaw Subdistrict, Trat Province
ชื่อผู้แต่ง
อัฐฉญา แพทย์ศาสตร์ และ พัชรินทร์ รุจิรานุกูล
สาขางานวิจัย
หน่วยงาน
คณะครุศาสตร์
ประเภทงานวิจัย
งานวิจัย
ปีงบประมาณ
2561
ชื่อทุน
หน่วยงานเจ้าของทุน
บทคัดย่อ (ภาษาไทย)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และเพื่อศึกษาแนวทางสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทางสังคมของผู้สูงอายุในตำบลห้วงน้ำขาว จังหวัดตราด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 234 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเอฟ (F–test) และการทดสอบค่าที (t–test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทางสังคมของผู้สูงอายุในตำบล ห้วงน้ำขาว จังหวัดตราดอยู่ในระดับดี 2. ในการทดสอบสมมติฐานระดับคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทางสังคมของผู้สูงอายุในตำบลห้วงน้ำขาว จังหวัดตราด จำแนกตามสภาพภูมิหลัง พบว่า ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ โรคประจำตัว และสมาชิกชมรมผู้สูงอายุต่างกัน มีระดับคุณภาพชีวิตไม่แตกต่างกัน แต่ผู้สูงอายุที่มีรายได้ต่างกันมีระดับคุณภาพชีวิตแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. แนวทางสร้างเสริมคุณภาพชีวิตด้านจิตใจและด้านความสัมพันธ์ทางสังคมของผู้สูงอายุในตำบลห้วงน้ำขาว จังหวัดตราด คือ 1) ด้านจิตใจ ควรส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคลในครอบครัวและชุมชนให้ความสำคัญและดูแลผู้สูงอายุ เอาใจใส่ ใช้วาจาที่สุภาพ ให้ความรักความอบอุ่น ทำกิจกรรมร่วมกันและมีการจัดโครงการอบรมส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุในด้านจิตใจ รวมถึงมีแพทย์ตรวจเยี่ยมผู้สูงอายุ 2) ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม ควรส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ พร้อมกับให้การสนับสนุนงบประมาณ ควรส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ที่กำลังจะเข้าสู่วัยสูงอายุเพื่อเตรียมการสำหรับเป็นผู้สูงอายุ ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมที่สนุกสนานหรือมีการให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ และมีการให้คำแนะนำในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และควรมีการให้ข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานต่าง ๆ
บทคัดย่อ (ภาษาอังกฤษ)
The objectives of this research aimed to study and compare the quality of life psychological domain and social relationship domain and study guidelines to improve the quality of life psychological domain and social relationship domain of the elderly in Huangnamkhaw Subdistric, Trat Province. The sample consisted of 234 elderly. Interviewing technique was used to collect data. Frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviations, F-test, and t-test were used in data analysis. The findings were as follows: 1. Quality of life psychological domain and social relationship domain of the elderly in Huangnamkhaw Subdistrict, Trat province was at the good level. 2. To test the hypothesis quality of life psychological domain and social relationship domain of the elderly in Huangnamkhaw subdistrict, Trat province classified by background was found that the elderly with different sex, age, marital status, education level, occupation, congenital diseases and membership of the elderly club was not difference in quality of life. The elderly with different incomes was different levels of quality of life at .05 level significance. 3. Guidelines to improve the quality of life psychological domain and social relationship domain of the elderly in Huangnamkhaw Subdistrict, Trat Province were : The Psychological domain aspect should support encourage the people in families and communities to focus their attention and take care the elderly, use polite words, give them with warm love, joint activities and providing project to promote and develop the elderly in mind and providing doctor to visit regulary. Quality of Social Relationship Domain aspect should promote the establishment of professional group for seniors, providing finance to support, to educate and give knowledge to people who are going to enter the old age. Providing fun activities, useful knowledge, advice on solving problem of health care and giving information from various organization should be supported.
คำสำคัญ
คุณภาพชีวิตด้านจิตใจ , คุณภาพชีวิตด้านความสัมพันธ์ทางสังคม , ผู้สูงอายุ
Keywords
Quality of Life Psychological Domain , Quality of Social Relationship Domain , The Elderly
เพิ่มข้อมูลโดย
ณัฐฐานี ดีซื่อ
แก้ไขล่าสุด
2020-10-01 10:34:05
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
ไฟล์เอกสารดาวน์โหลด
หน้าปก
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
บทที่ 1
บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 5
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ผู้วิจัย